Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เชาวน์ปัญญา, เชาวน์, ปัญญา , then ชาวนปญญา, เชาวน์, เชาวน์ปัญญา, บัญญา, เบญญา, ปญญา, ปญฺญา, ปัญญะ, ปัญญา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เชาวน์ปัญญา, 143 found, display 51-100
  1. ทุมเมธ ทุมเมธี : (วิ.) มีปัญญาอันดทษประทุษร้ายแล้ว, มีปัญญาชั่ว, มีปัญญาทราม.
  2. ทุมฺเมธี : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องจำกัดซึ่ง กิเลสชั่ว, มีปัญญาเป็นเครื่องกำจัดเสียซึ่งกิเลสชั่ว. ทุกิเลส+เมธี.
  3. ทุวงฺคุลปญฺญ : ค. ผู้มีปัญญาเพียงสองนิ้ว, ผู้มีปัญญาน้อย (หมายถึงสตรี)
  4. โทสสญฺญู : (ปุ.) บุคคลผู้รู้ซึ่งโทษ, คนรู้จักโทษ, คนมีปัญญา, คนมีปรีชา, นักปราชญ์, วิ. โทสํ ชานาคีติ โทสญฺญู. คนผู้รู้โทษ โดยปกติ, ฯลฯ. โทส+ญา ธาตุ รู ปัจ.
  5. ธมฺมฐติ : (อิต.) ความตั้งอยู่แห่งธรรม, ความตั้งอยู่แห่งปัจจัย, ธรรมฐติ ชื่อของปัญญาในการกำหนดปัจจัย. ไตร. ๓๑/๗๒.
  6. ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
  7. โธน : (วิ.) ผู้มีปรีชา, ผู้มีปัญญา, ผู้ฉลาด, โธรฺ คติเฉกภาเว, อ. แปลง ร เป็น ณ แปลง ณ เป็น น.
  8. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  9. นิปญฺญ นิปฺปปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาออกแล้ว, ไม่มีปัญญา, ไร้ปัญญา, พาล (เขลา), เขลา, โง่.
  10. นิปญฺญวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ้งคำไร้ปัญญาโดย ปกติ, ฯลฯ, ผู้กล่าวซึ่งคำเครื่องยังทายก ให้ตกต่ำโดยปกติ.
  11. นิปฺปญฺญ : ค. ซึ่งไม่มีปัญญา, โง่
  12. นิพเพธิกปญญ : (วิ.) มีปัญญาชำแรกกิเลส.
  13. นิรุตฺติปฏิสมฺภิทา : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  14. นิหีนปญฺญ : ค. มีปัญญาทราม
  15. ปญฺญวนฺตุ : ค. คนมีปัญญา
  16. ปญฺญาวุฑฺฒิ : อิต. ความเจริญด้วยปัญญา
  17. ปฏิมนฺตก : ป. ผู้พูดโต้ตอบ, คู่สนทนา; ผู้มีปัญญาเครื่องคิดอ่าน, ผู้รู้จักคิด
  18. ปฏิสมฺภิทา : อิต. ปฏิสัมภิทา, ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน
  19. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  20. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  21. ปริณายิกา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องนำไปรอบ.
  22. ปหูตปญฺญ : ค. มีปัญญาเพียงพอ, มีปัญญามาก
  23. ปุถุปญฺญ : ค. ผู้มีปัญญากว้างขวาง
  24. ปุถุปญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีปัญญากว้างขวาง
  25. โปริส : (ปุ.) ชนผู้ยังความปรารถนาของหญิงให้เต็ม, คนผู้มีปรีชา, คนผู้มีปัญญา. ปุรฺ ปูรเณ, อิโส.
  26. โปริสฺส : นป. ความเป็นบุรษ, คนมีปัญญา
  27. พหุมนฺต : ค. มีมนต์มาก, มีความคิดมาก, มีปัญญาดี
  28. พุชฺฌก : ค. ฉลาด, มีปัญญา, รอบคอบ, รู้
  29. พุทฺธก : ค. ผู้มีปัญญาน้อย (มักใช้ในรูปสมาส เช่น คำว่า ทฺวงฺคุลพุทฺธก = ผู้มีปัญญาน้อยเพียงสองนิ้ว)
  30. พุทฺธิมนฺตุ : ค. ผู้ฉลาด, ผู้มีความรู้, ผู้มีปัญญา
  31. พุทฺธิสมฺปนฺน : ค. ผู้สมบูรณ์ด้วยปัญญา, มีปัญญา
  32. พุธ : (วิ.) ผู้รู้, ผู้มีปรีชา, ผู้มีปัญญา.
  33. โพชฺฌงฺคม : ป.การดำเนินไปสู่ปัญญาหรือธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้
  34. โพธิปกฺขิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งธรรมสามัคคีเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งการบรรลุ (โลกุตตรธรรม).
  35. โพธิปริปาก : ป., โพธิปาจน นป. ความแก่รอบแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
  36. โพธิมณฺฑ : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งปัญญาชื่อว่า โพธิ, ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งโพธิญาณ.
  37. โพธิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, มนุษย์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, บุคคลผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ, พระโพธิสัตว์ คือ สัตว์ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า.
  38. ภงฺคาปุปสฺสนา : อิต. ปัญญาพิจารณาการแตกทำลาย
  39. ภูริ : (ปุ.) คนมีปัญญา, ฯลฯ, นักปราชญ์. วิ. ภูสงฺขาเต อตฺเถ รมตีติ ภูริ. ภูปุพฺโพ, รมฺ รมเณ, กฺวิ, อิ อาคโม.
  40. ภูริปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาราวกะว่าแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดังแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดุจแผ่นดิน, ผู้ประกอบด้วยปัญญากว้างขวางเสมอด้วยแผ่นดิน.
  41. มนฺตี : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีความคิด, มนตรี (ผู้ปรึกษาราชการ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่).
  42. มหาปณฺฑิต : (ปุ.) คนมีความรู้มาก, คนฉลาดมาก, คนมีปัญญามาก, มหาบัณฑิต เป็นคำเรียกผู้ที่สอบปริญญาโทของสถานต่างๆ ชั้นอุดม.
  43. มุทธา : (อิต.) ปัญญาเพียงดังศรีษะ, ปัญญาชื่อมุทธา, หัว, ศรีษะ, ยอด, ที่สุด. อาอิต.
  44. เมธ : (ปุ.) ความกำจัด, ความกำจัดความชั่ว, คนมีปัญญา.
  45. เมธส : (วิ.) มีปัญญา, มีปรีชา. เมธา+ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อา เป็น อ.
  46. เมธาวี : ค. คนมีปัญญา
  47. เมธิย เมธิฏฺฐ : (วิ.) ผู้มีปัญญากว่า, ผู้มีปัญญาที่สุด. เมธิมนฺตุ+อิย, อิฏฺฐ ปัจ.
  48. เมธี เมธาวี : (วิ.) มีปัญญา, มีปรีชา,ฯลฯ. อี, วี ปัจ.
  49. สปญฺญ สปฺปญฺญ : (วิ.) ผู้เป็นไปด้วยปัญญา วิ. สห ปญฺญย วตฺตตีติ สปญฺโญ. ผู้มีปัญญา ผู้มีปรีชา. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ.
  50. สปฺปญฺญ : ค. คนมีปัญญา
  51. 1-50 | [51-100] | 101-143

(0.0413 sec)