Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กรุณา , then กรณา, กรุณ, กรุณะ, กรุณา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กรุณา, 40 found, display 1-40
  1. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  2. กรุณาคุณช : ค. อันเกิดจากคุณแห่งความกรุณา
  3. กรุณาชล : นป. น้ำแห่งความกรุณา, สาย (ฝน) แห่งความเอ็นดู
  4. กรุณาฌาน : นป. การเพ่งอันเกี่ยวกับความกรุณา
  5. กรุณาธิมุตฺต : นป. ความมุ่งในความกรุณาหรือความเอ็นดู, ความน้อมไปในความกรุณา
  6. กรุณานุวตฺตี : ค. อันอนุวัตตามกรุณา, เป็นไปตามความเอ็นดู
  7. กรุณาปร : ค. ผู้มีความกรุณาสูง, ผู้มีความกรุณาเป็นเบื้องหน้า
  8. กรุณาภาวนา : อิต. กรุณาภาวนา, การเจริญหรือก่อให้เกิดความกรุณา
  9. กรุณายติ : ก. กรุณา, เอ็นดู
  10. กรุณายน : อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  11. กรุณารส : ป. รสแห่งความกรุณา
  12. กรุณาวิหาร : ค. มีจิตอยู่ด้วยความกรุณา, จิตประกอบด้วยความเอ็นดู
  13. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  14. ทยติ : ๑. ก. บิน; ๒. ค. เอ็นดู, สงสาร, กรุณา
  15. กรุณ : (ปุ.) กรุณะ (ความเอ็นดู) ชื่อนาฏยรส อย่างที่ ๒ ใน ๙ อย่าง. กรฺ กรเณ, อุโณ.
  16. นิกฺกรุณา : อิต. ดู นิกฺกรุณตา
  17. การุณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาย นิยุตฺโต การุณิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้มีความกรุณา วิ. กรุณาย อสฺส อตฺถีติ การุณิโก. กรุณา ตสฺมึ อตฺถีติ วา การุณิโก. อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ผู้มี ความเอ็นดูเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. กรุณา สีลํ อสฺสาติ การุณิโก. ผู้มีปกติเอ็นดู, ฯลฯ. วิ. กรุณาสีโลการุณิโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  18. ทยาลุ พยาลุก : (วิ.) ผู้มีความเอ็นดูเป็นปกติ วิ. ทยา อสฺส. ปกติ ทยาลุ. ผู้มีความอ็นดู มาก วิ. ทยา อสฺส พหุลา ทยาลุ. ผู้มี ความเอ็นดู วิ. ทยา กรุณา ยสฺสตฺถิ โส ทยาลุ. อาลุ ปัจ. พหุลตัท. ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๕๖๙ ว่า ลง กฺ อาคม. ส.ทยาลุ.
  19. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  20. พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
  21. อนุกมฺป : (วิ.) ไหวตาม, อนุเคราะห์, เอ็นดู, สงสาร, กรุณา.
  22. กรุณ : ก. วิ. อย่างน่าเอ็นดู, น่ากรุณา
  23. นิกฺกรุณ : ค. ปราศจากความกรุณา, ไม่มีความเอ็นดู
  24. นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
  25. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  26. การุญฺญ : นป., การุญฺญตา อิต. ความกรุณา, ความเอ็นดู
  27. การุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเอ็นดู, ความเป็นแห่งความสงสาร, ความเป็นแห่ง ความกรุณา. วิ. กรุณาย ภาโว การุญฺญํ. ณฺยปัจ. ภาวตัท. ความเอ็นดู, ความสงสาร, ความกรุณา, การุณย์. ณฺย ปัจ. สกัด รูปฯ ๓๗๑. ส. การุณฺย.
  28. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  29. ทยาลุ : ค. มีกรุณามาก, ผู้เปี่ยมด้วยความกรุณา
  30. นิทฺทย : ค. หมดความกรุณา, ปราศจากความเอื้อเฟื้อ, ไม่สงสาร, โหดร้าย
  31. ผารุลิย : นป. ความรุนแรง, ความเกรี้ยวกราด, ความไม่กรุณา
  32. มหาการุณิก : (วิ.) ประกอบด้วยความกรุณามาก, ประกอบด้วยพระมหากรุณา เป็นคุณบทของพระพุทธเจ้า.
  33. อนุกุล อนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วย เหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯ ความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา. ส. อนุกูล.
  34. อนุทยาอนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู.วิ.อนุทยติปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจหึสตีติอนุทยาอนุทฺทยาวา.อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  35. อนุทยา อนุทฺทยา : (อิต.) ความกรุณา, ความปราณี, ความเอ็นดู. วิ. อนุทยติ ปรทุกฺขํ, อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ อนุทยา อนุทฺทยา วา. อนุปุพฺโพ, ทยฺ ทานคติหึสาทาเนสุ, อ.
  36. อวทายติ : ก. กรุณา, เอื้อเฟื้อ
  37. อวฺยาปชฺฌ : ๑. นป. การไม่เบียดเบียน, ความเป็นผู้มีใจกรุณา ; ๒. ค. ปราศจากการกดขี่, มีใจกรุณา
  38. อวิหึสา, อวิเหสา : อิต. การไม่เบียดเบียน ; ความกรุณา, มนุษยธรรม
  39. นิกรณา : อิต. ดู นิกติ
  40. สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
  41. [1-40]

(0.0569 sec)