Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ขึ้นไป .

Eng-Thai Lexitron Dict : ขึ้นไป, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ขึ้นไป, 11 found, display 1-11
  1. ขึ้นไป : (V) ; go upward ; Related:up ; Syn:ขึ้น ; Ant:ลงมา ; Def:เคลื่อนออกจากที่ไปสู่ทิศทางข้างบน ; Samp:คุณยายขึ้นไปนอนพักอยู่ข้างบน หลังจากที่ไปหาหมอมาแล้ว
  2. ขึ้นไป : (ADV) ; over ; Related:up ; Syn:มากกว่า, เกิน ; Ant:น้อยกว่า ; Def:อย่างที่เกินไปมากกว่านั้น ; Samp:คนที่อายุตั้งแต่ 30 ปี ขึ้นไปไม่ควรจะคุมกำเนิดทันทีภายหลังการคลอดบุตร
  3. ลงมา : (ADV) ; down ; Related:downward ; Ant:ขึ้นไป ; Samp:เมื่อกินข้าวเสร็จ ลุงก็ขนผ้าห่มลงมาจากเรือ เพื่อไปนอนบนฝั่งข้างกองไฟ
  4. ลงมา : (V) ; come down ; Related:descend ; Syn:มา ; Ant:ขึ้นไป, ขึ้น ; Samp:บริเวณถนนข้างหน้ามีรถจอดเรียงกันเป็นตับ ผู้คนหลายสิบยืนเบียดเสียดกันอยู่ บ้างก็ลงมาชะเง้อชะแง้อยู่บนไหล่ทาง
  5. กัน : (PRON) ; one another ; Related:each other ; Def:คำประกอบท้ายกริยาของผู้กระทำตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป แสดงการกระทำร่วมกัน อย่างเดียวกัน หรือ ต่อกัน ; Samp:เธอและเขารักกันมานานแล้ว
  6. เถรภูมิ : (N) ; class of Buddhist monks who have attained ten or more years in the monkhood ; Related:Buddhist hierarchy ; Def:ขั้นหรือชั้นแห่งพระเถระชั้นสูงสุด มีพรรษาตั้งแต่ 10 ขึ้นไป
  7. พิณพาทย์ : (N) ; classical Thai orchestra ; Syn:ปี่พาทย์ ; Def:เครื่องประโคมวงหนึ่ง มีกำหนดตั้งแต่ 5 ขึ้นไป คือ ตะโพน ปี่ ฆ้องวง ระนาด กลอง ; Samp:ขณะที่พระสวดชยันโต พิณพาทย์มโหรีก็เริ่มบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ ; Unit:วง
  8. ระหว่าง : (PREP) ; among ; Related:amongst, in the midst of ; Def:คำที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของบุคคลหรือสถาบันเป็นต้นตั้งแต่ 2 ขึ้นไป ; Samp:วิชาจิตวิทยาศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล และบุคคลกับโครงสร้างของสังคม
  9. การออกกำลังกาย : (N) ; exercise ; Related:exertion ; Syn:การออกกำลัง, การบริหารร่างกาย ; Def:การบริหารร่างกายเพื่อให้แข็งแรง ; Samp:การเต้นแอโรบิคเป็นการออกกำลังกายที่ทำให้ร่างกายใช้ออกซิเจนมากขึ้นถึงประมาณร้อยละ 70 ขึ้นไป
  10. เทศบาลนคร : (N) ; city municipal ; Def:องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแบบหนึ่ง ใช้สำหรับท้องถิ่นที่มีขนาดใหญ่ ; Samp:เทศบาลที่จะยกฐานะเป็นเทศบาลนครต้องมีประชากรอยู่รวมกันมากกว่า 50,000 คน ขึ้นไป และมีสมาชิกสภาเทศบาล 24 คน ; Unit:แห่ง
  11. ประพฤติชอบ : (V) ; behave well ; Related:conduct oneself properly ; Syn:ประพฤติดี ; Ant:ประพฤติมิชอบ ; Def:ปฏิบัติแต่ความดี ; Samp:คุณครูสั่งสอนให้นักเรียนประพฤติดีประพฤติชอบยึดมั่นในความสุจริตเพื่อที่นักเรียนจะได้จำเริญยิ่งๆ ขึ้นไป

Royal Institute Thai-Thai Dict : ขึ้นไป, more than 5 found, display 1-5
  1. ดิ้นรน : ก. กระตือรือร้นขวนขวายเพื่อให้พ้นจากความยากลําบาก ความทุกข์ ทรมาน หรือเพื่อให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป เช่น ดิ้นรนจะให้พ้นทุกข์ ดิ้นรนอยากเป็น นั่นเป็นนี่.
  2. เถร, เถร-, เถระ : [เถน, เถระ-] น. พระผู้ใหญ่ ตามพระวินัยกําหนดว่า พระมีพรรษา ตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป เรียกว่า พระเถระ. (ป.).
  3. บุพการี : น. ผู้ที่ทําอุปการะมาก่อน เช่น บิดามารดาเป็นบุพการี ของบุตรธิดา. (ป. ปุพฺพการี); (กฎ) ญาติทางสาโลหิตโดยตรง ขึ้นไป ได้แก่ บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด.
  4. ปืนยาว : น. ชื่อปืนชนิดหนึ่ง ลำกล้องยาวตั้งแต่ ๒๐ นิ้ว ขึ้นไป มีแหนบสำหรับบรรจุกระสุน มักใช้ล่าสัตว์.
  5. พัดยศ : น. พัดพิเศษที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อ พระราชทานแก่ภิกษุสามเณรที่สอบเปรียญธรรมได้ตั้งแต่ ๓ ประโยค ขึ้นไป หรือแก่พระภิกษุที่มีความรู้ความสามารถในการศึกษา การ บริหารหรือการเผยแผ่พระศาสนา เป็นต้น เป็นเครื่องหมายแสดง ลำดับชั้นแห่งสมณศักดิ์ มีรูปและชื่อต่าง ๆ กัน คือ พัดหน้านาง พัดพุดตาน พัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ขึ้นไป, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ขึ้นไป, 7 found, display 1-7
  1. เถรภูมิ : ขั้นหรือชั้นแห่งพระเถระ, ระดับอายุ คุณธรรม ความรู้ ที่นับว่าเป็นพระผู้ใหญ่ คือมีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป และรู้ปาฏิโมกข์ เป็นต้น
  2. เถระ : พระผู้ใหญ่ ตามพระวินัยกำหนดว่ามีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป
  3. นวังคสัตถุศาสน์ : คำสั่งสอนของพระศาสดา มีองค์ ๙, พุทธพจน์มีองค์ประกอบ ๙ อย่าง, ส่วนประกอบ ๙ อย่างที่เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า คือ ๑.สุตตะ (พระสูตรทั้งหลาย รวมทั้งพระวินัยปิฎกและนิทเทส) ๒.เคยยะ (ความที่มีร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่ พระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด) ๓.เวยยากรณะ (ไวยากรณ์ คือความร้อยแก้วล้วน ได้แก่ พระอภิธรรมปิฎกทั้งหมด และพระสูตรที่ไม่มีคาถาเป็นต้น).๕.อุทาน (ได้แก่ พระคาถาพุทธอุทาน ๘๒ สูตร) ๖.อิติวุตตกะ (พระสูตรที่เรียกว่าอิติวุตตกะ ๑๑๐ สูตร) ๗.ชาตกะ (ชาดก ๕๕๐ เรื่อง) ๘.อัพภูตธรรม (เรื่องอัศจรรย์ คือพระสูตรที่กล่าวถึงข้ออัศจรรย์ต่างๆ) ๙.เวทัลละ (พระสูตรแบบถามตอบที่ให้เกิดความรู้และความพอใจแล้ว ซักถามยิ่งๆ ขึ้นไป เช่น จูฬเวทัลลสูตร มหาเวทัลลสูตร เป็นต้น); เขียนอย่างบาลีเป็น นวังคสัตถุสาสน์ ดู ไตรปิฎก
  4. วจนะ : คำพูด; สิ่งที่บ่งจำนวนนามทางไวยากรณ์ เช่น บาลีมี ๒ วจนะ คือ เอกวจนะ บ่งนามจำนวนเพียงหนึ่ง และ พหุวจนะ บ่งนามจำนวนตั้งแต่ ๒ ขึ้นไป
  5. อติเรกบาตร : บาตรของภิกษุที่เขาถวายเพิ่มเข้ามา นอกจากบาตรอธิษฐานพระพุทธเจ้าอนุญาตให้ภิกษุมีบาตรไว้ใช้ใบเดียว ซึ่งเรียกว่าบาตรอธิษฐานหากมีหลายใบ ตั้งแต่ใบที่ ๒ ขึ้นไป เรียกว่าอติเรกบาตร
  6. อาจริยมัตต์ : ภิกษุผู้มีพรรษาพอที่จะเป็นอาจารย์ให้นิสสัยแก่ภิกษุอื่นได้, พระปูนอาจารย์ คือ มีพรรษา ๑๐ ขึ้นไป หรือแก่กว่าราว ๖ พรรษา; อาจริยมัต ก็เขียน
  7. อุโบสถ : 1) การสวดปาฏิโมกข์ของพระสงฆ์ทุกกึ่งเดือน เป็นเครื่องซักซ้อมตรวจสอบความบริสุทธิ์ทางวินัยของภิกษุทั้งหลาย และทั้งเป็นเครื่องแสดงความพร้อมเพรียงของสงฆ์ด้วย อุโบสถมีชื่อเรียกย่อยออกไปหลายอย่าง การทำอุโบสถจะมีการสวดปาฏิโมกข์ได้ต่อเมื่อมีภิกษุครบองค์สงฆ์จตุรวรรค คือ ๔ รูป ขึ้นไป ถ้าสงฆ์ครบองค์กำหนดเช่นนี้ทำอุโบสถ เรียกว่า สังฆอุโบสถ แต่ถ้ามีภิกษุอยู่เพียง ๒ หรือ ๓ รูป เป็นเพียงคณะท่านให้บอกความบริสุทธิ์แก่กันและกันแทนการสวดปาฏิโมกข์ เรียกอุโบสถนี้ว่า คณอุโบสถ หรือ ปาริสุทธิอุโบสถ ถ้ามีภิกษุอยู่ในวัดรูปเดียว ท่านให้ทำเพียงอธิษฐานคือตั้งใจกำหนดจิตว่าวันนี้เป็นอุโบสถของเรา (อชฺช เม อุโปสโถ) อุโบสถที่ทำอย่างนี้ เรียกว่า ปุคคลอุโบสถ หรือ อธิษฐานอุโบสถ; อุโบสถที่ทำในวันแรม ๑๔ ค่ำ เรียกว่า จาตุทสิก ทำในวันขึ้นหรือแรม ๑๕ ค่ำ เรียกว่า ปัณณรสิก ทำในวันสามัคคี เรียกว่า สามัคคีอุโบสถ 2) การอยู่จำ, การรักษาศีล ๘ และบำเพ็ญข้อปฏิบัติอย่างอื่นที่สมควรมีฟังพระธรรมเทศนาเป็นต้นของคฤหัสถ์ ในวันขึ้นและแรม ๘ ค่ำ วันจันทร์เพ็ญและวันจันทร์ดับ 3) วันอุโบสถสำหรับพระสงฆ์ คือ วันจันทร์เพ็ญ (ขึ้น ๑๕ ค่ำ) และวันจันทร์ดับ (แรม ๑๕ ค่ำ หรือ ๑๔ ค่ำ เมื่อเดือนขาด), สำหรับคฤหัสถ์ คือ วันพระ ได้แก วันขึ้นและวันแรม ๘ ค่ำ วันจันทร์เพ็ญ และวันจันทร์ดับ 4) สถานที่สงฆ์ทำสังฆกรรม เรียกตามศัพท์ว่า อุโปสถาคารหรืออุโปสถัคคะ, ไทยมักตัดเรียกว่าโบสถ์

ETipitaka Pali-Thai Dict : ขึ้นไป, 9 found, display 1-9
  1. อภิลงฺฆติ : ก. ขึ้น, ขึ้นไป, ผ่านไป, ข้าม, ล่วง, กระโดดขึ้น
  2. อาโรห : (วิ.) ยาว, ยกขึ้น, ขึ้นไป, สูง, ทรวดทรง
  3. ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
  4. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  5. อนฺวาโรหติ : ก. ขึ้นไป, ไปหา
  6. อุคฺคจฺฉติ : ก. ขึ้นไป, โผล่ขึ้น, เหาะขึ้น
  7. อุคฺคม : (วิ.) ขึ้นไป, ไปสูง, ไปในเบื้องบน, บินไป.
  8. อุเทติ, - ทยติ : ก. ขึ้นไป, เกิดขึ้น, เพิ่มขึ้น
  9. อุปรูปริ : ก. วิ. ยิ่งๆ ขึ้นไป, เหนือขึ้นไป

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ขึ้นไป, not found

(0.0601 sec)