Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้า , then ข้ะ, ขา, ข้า .

Eng-Thai Lexitron Dict : ข้า, more than 7 found, display 1-7
  1. retinue : (N) ; ข้าราชบริพาร ; Related:บริวาร, กลุ่มผู้ติดตาม ; Syn:entourage, follovers
  2. leg : (N) ; ขา ; Syn:lower limb
  3. Mystic Meg : (SL) ; ขา ; Syn:Mystic Megs
  4. Mystic Megs : (SL) ; ขา ; Syn:Mystic Meg
  5. bondman : (N) ; ทาส ; Related:ข้าทาส, ข้ารับใช้, บ่าว, ขี้ข้า, คนรับใช้ ; Syn:slave ; Ant:bondwoman
  6. courtier : (N) ; ข้าราชการในสำนัก ; Related:ข้าราชบริพาร, ผู้จงรักภักดี, มหาดเล็ก
  7. lackey : (N) ; ผู้ติดตาม ; Related:ข้าติดตาม ; Syn:flunky, flunkey, toady
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ข้า, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ข้า, more than 7 found, display 1-7
  1. ข้า 2 : (PRON) ; I ; Related:me ; Syn:ฉัน, ข้าพเจ้า, กระผม, ดิฉัน, เรา, ผม, กู ; Ant:เอ็ง, เจ้า, เธอ, ท่าน, มึง ; Def:คำสรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย ; Samp:ข้าอยากขอความช่วยเหลือจากเจ้าสักหน่อย
  2. ข้า 1 : (N) ; slave ; Related:servant ; Syn:ทาส, คนรับใช้, บ่าว ; Ant:นาย, เจ้า ; Def:บ่าวไพรที่คอยรับใช้งานต่างๆ ; Samp:บ้านคุณหลวงเพิ่มมีข้าไว้คอยรับใช้มากมาย ; Unit:คน
  3. ข้าเก่าเต่าเลี้ยง : (N) ; old servant ; Related:slave since childhood, one born in slavery ; Syn:ข้าเก่า, คนเก่าคนแก่ ; Def:คนที่อยู่ด้วยกันมานานในฐานะรับใช้จนไว้วางใจได้ ; Samp:ทุกวันนี้คนรับใช้ที่เป็นข้าเก่าเต่าเลี้ยงสูญพันธุ์ไปแล้ว ; Unit:คน
  4. ข้าราชบริพาร : (N) ; courtier ; Related:court official, king's servant ; Syn:บริวาร, ข้าหลวง, ข้าราชสำนัก ; Def:คนที่ถวายตัวเป็นข้าของกษัตริย์หรือเจ้านายอย่างจงรักภักดี ; Samp:กษัตริย์ในราชวงศ์ถังพระราชทานเลี้ยงแก่ข้าราชบริพารทุกวัน ; Unit:คน
  5. ข้าทาส : (N) ; slave ; Related:bondwoman, bondman, servant ; Syn:ทาส, ข้ารับใช้, บ่าว, บริวาร, ขี้ข้า, คนรับใช้ ; Ant:เจ้านาย, นาย ; Def:ผู้ที่ทำหน้าที่รับใช้การงานต่างๆ ที่เจ้านายสั่ง ; Samp:เจ้านายสมัยก่อนมีข้าทาสคอยรับใช้เป็นจำนวนมาก ; Unit:คน
  6. ข้าเจ้า : (PRON) ; I ; Syn:ฉัน, ผม, ดิฉัน ; Def:เป็นสรรพนามบุรุษที่ 1 ใช้แทนตัวผู้พูด ; Samp:ข้าเจ้าเองก็เพิ่งมาใหม่ ยังไม่รู้ว่าอะไรอยู่ตรงไหน
  7. เจ้า 2 : (PRON) ; you ; Syn:เธอ, คุณ ; Ant:ข้า ; Def:คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย สำหรับผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อยอย่างสุภาพหรือเอ็นดู, เป็นสรรพนามบุรุษที่ 2 ; Samp:เจ้าลูกกระทิง เจ้ามัวแต่กินนมแม่ของเจ้า
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ข้า, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. ข้า : น. บ่าวไพร่, คนรับใช้.
  2. ข้า : ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด พูดกับผู้ที่เสมอกันอย่างเป็นกันเองหรือผู้ใหญ่ พูดกับผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
  3. ข้าพระพุทธเจ้า : [ข้าพฺระพุดทะเจ้า] ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด กราบบังคม ทูลพระเจ้าแผ่นดินหรือกราบทูลเจ้านายชั้นสูง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
  4. ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ : (สํา; โบ) น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบ ธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อน เจ้านายน้อยตัวก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้น ก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้าเข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น. (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔).
  5. ข้าเก่าเต่าเลี้ยง : (สํา) น. คนเก่าคนแก่, คนที่อยู่ด้วยกันในฐานะ รับใช้มานาน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ข้า, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรมกาย : “ผู้มีธรรมเป็นกาย” เป็นพระนามอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า (ตามความในอัคคัญญสูตร แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค) หมายความว่า พระองค์ทรงคิดพุทธพจน์คำสอนด้วยพระหทัยแล้วทรงนำออกเผยแพร่ด้วยพระวาจา เป็นเหตุให้พระองค์ก็คือพระธรรม เพราะทรงเป็นแหล่งที่ประมวลหรือที่ประชุมอยู่แห่งธรรมอันปรากฏเปิดเผยออกมาแก่ชาวโลก; อนึ่งธรรมกายคือกองธรรมหรือชุมนุมแห่งธรรมนั้น ย่อมเจริญงอกงามเติบขยายขึ้นได้โดยลำดับจนไพบูลย์ ในบุคคลผู้เมื่อได้สดับคำสอนของพระองค์ แล้วฝึกอบรมตนด้วยไตรสิกขาเจริญมรรคให้บรรลุภูมิแห่งอริยชน ดังตัวอย่างดำรัสของพระมหาปชาบดีโคตมี เมื่อครั้งกราบทูลลาพระพุทธเจ้าเพื่อปรินิพพานตามความในคัมภีร์อปทานตอนหนึ่งว่า “ข้าแต่พระสุคตเจ้า หม่อมฉันเป็นมารดาของพระองค์, ข้าแต่พระธีรเจ้า พระองค์ก็เป็นพระบิดาของหม่อมฉัน..รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันได้ทำให้เจริญเติบโต ส่วนธรรมกายอันเป็นที่เอิบสุขของหม่อมฉัน ก็เป็นสิ่งอันพระองค์ได้ทำให้เจริญเติบโต”; สรุปตามนัยอรรถกถาธรรมกายก็คือโลกุตตรธรรม ๙ หรือ อริยสัจ
  2. ผ้าป่า : ผ้าที่ทายกถวายแก่พระโดยวิธีปล่อยทิ้งให้พระมาชักเอาไปเอง อย่างเป็นผ้าบังสุกุล, ตามธรรมเนียมจะถวายหลังเทศกาลกฐินออกไป; คำถวายผ้าป่าว่า "อิมินา มยํ ภนฺเต, ปํสุกูลจีวรานิ, สปริวารานิ, ภิกฺขุสงฺฆสฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อิมานิ, ปํสุกูลจีวรานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหากํ, ทีฆรตฺตํ, หิตาย, สุขาย" แปลว่า ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายผ้าบังสุกุลจีวร กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ของพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าบังสุกุลจีวร กับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญฯ
  3. ภันเต : ข้าแต่ท่านผู้เจริญ” เป็นคำที่ภิกษุผู้อ่อนพรรษากว่าเรียกภิกษุผู้แก่พรรษากว่า (ผู้น้อยเรียกผู้ใหญ่) หรือคฤหัสถ์กล่าวเรียกพระภิกษุ, คู่กับคำว่า “อาวุโส”; บัดนี้ใช้เลือนกันไปกลายเป็นคำแทนตัวบุคคลไป ก็มี
  4. สังฆทาน : ทานเพื่อสงฆ์, การถวายแก่สงฆ์ คือถวายเป็นกลาง ๆ ไม่จำเพาะเจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เช่น จะทำพิธีถวายของที่มีจำนวนจำกัดพึงแจ้งแก่ทางวัดให้จัดพระไปรับตามจำนวนที่ต้องการ หัวหน้าสงฆ์จัดภิกษุใดไปพึงทำใจว่า ท่านมารับในนามของสงฆ์ หรือ เป็นผู้แทนของสงฆ์ทั้งหมด ไม่พึงเพ่งเล็งว่าเป็นบุคคลใด คิดตั้งใจแต่ว่าจะถวายอุทิศแก่สงฆ์; ในพิธีพึงจุดธูปเทียนบูชาพระ อาราธนาศีล รับศีล จบแล้วตั้งนโม ๓ จบ กล่าวคำถวายเสร็จแล้วประเคนของ และเมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา พึงกรวดน้ำ รับพร เป็นเสร็จพิธี; คำถวายสังฆทานว่าดังนี้ : อิมานิ มยํ ภนฺเต, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ภิกฺขุสงฺฆสฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อิมานิ, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหากํ, ทีฆรตฺตํ, หิตาย, สุขาย, แปลว่า : ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวาย ภัตตาหาร กับทั้งบริวารเหล่านี้แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ภัตตาหาร กับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ ฯ
  5. เสนานิคม : ชื่อหมู่บ้านในตำบลอุรุเวลานางสุชาดาผู้ถวายข้าปายาสแด่พระมหาบุรุษในวันที่จะตรัสรู้ อยู่ที่หมู่บ้านนี้
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ข้า, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  2. อมฺหิ : ก. (ข้า) มีอยู่, เป็นอยู่
  3. ธนกฺกีต : ค. ผู้ที่ถูกไถ่มาด้วยทรัพย์, ข้าสินไถ่
  4. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  5. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้า, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ข้า, more than 5 found, display 1-5
  1. เข่า : อูรุปพฺพํ, ชาณุ, ชานุ, ชณฺณุโก, ชนฺนุโก
  2. กร่อย (รส) : ขาริก
  3. อาหารหนัก : ขาทนียํ
  4. กล่าวคัดค้าน : อพฺภกฺขาติ [ก.]
  5. กล่าวตู่ : อพฺภกฺขานํ, อพฺภกฺขาติ [ก.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ข้า, more results...

(0.1411 sec)