Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้างหลัง, หลัง, ข้าง , then ขาง, ข้าง, ข้างหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้างหลัง, 578 found, display 1-50
  1. ปโร : อ. ข้างบน, ข้างหลัง, ไปเบื้องหน้า ; มากกว่า
  2. ปิฏฺฐิปสฺส : นป. ส่วนด้านหลัง, ข้างหลัง
  3. ปจฺฉโต : อ. ข้างหลัง
  4. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  5. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  6. ปจฺฉาพาห : ก. วิ. ให้มีมือข้างหลัง, มัดมือไพล่หลัง
  7. ปิฏฺฐิ : อิต. หลัง, หลังด้าน, ข้างบน, ยอด
  8. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  9. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  10. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  11. อุทฺธ : ค. เบื้องบน, เลย, เกิน, นอกเหนือไป, ข้างล่าง, (เวลา) หลัง, ต่อไป, ในอนาคต
  12. โอหิยฺยก : ค. ผู้ล้าหลัง, ซึ่งอยู่ข้างหลัง
  13. โอหีน : กิต. ซึ่งถูกปล่อยไว้ข้างหลังแล้ว
  14. โอหียติ : ก. ล้าหลัง, ชักช้า, หยุดอยู่ข้างหลัง
  15. โอหียน : นป. การล้าหลัง, การชักช้า, การหยุดอยู่ข้างหลัง
  16. จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
  17. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  18. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  19. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  20. ปุร : (วิ.) สูง, หน้า, ข้าง, เบื้องหน้า, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า. ปุรฺ อคฺคคมเน, อ.
  21. องฺกา : (อิต.) ตัก, พก, เอว, บั้นเอว, สะเอว, ข้าง, สีข้าง.
  22. อนฺต : (วิ.) เลว, ทราม, ต่ำ, ต่ำช้า, ลามก, หลัง, สุด, สุดท้าย.ส.อนฺต.
  23. อนฺติม : (วิ.) เกิดในที่สุด, ประกอบในที่สุด, มีในที่สุด, สุด, สุดท้าย, หลัง, เสร็จ.
  24. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  25. อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล่
  26. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  27. กถลา : (อิต.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
  28. กถลิก : (นปุ.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
  29. กรหาฏ กรหาฏก : (นปุ.) เหง้าในดิน, หัวใน ดิน, เหง้า, หัว, ก้านดอกไม้. วิ. กุยํ รูหตีติ กรหาฏํ. กุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, อาโฏ, อุสฺสตฺตํ. ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  30. กายวาจาทิ : (วิ.) มีกายกรรมและวจีกรรม เป็นต้น. ลบ กมฺม หลัง กาย, วาจา ออก. มีกายทวาร และวจีทวาร เป็นต้น. ลบ ทฺวาร ออก.
  31. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  32. กุนตฺถุ : (อิต.) ดั้งจมูก. นตฺถุ+กุฏิ หรือ กุฏิ ลบ ฏิ หรือ ฏิก แล้วกลับบทหน้าไว้ หลัง.
  33. คทฺธ คนฺธ : (ปุ.) แร้ง, นกแร้ง. คทฺธ อภิกงฺขายํ, อ. อภิฯ เป็น คิทฺธิ ธาตุ แปลง อิ ที่ คิ เป็น อ ศัพท์ หลัง คิธฺ อภิกงฺขายํ. แปลง อิ เป็น อ และ ลงนิคคหิตอาคม.
  34. โคปฺผ โคปฺผก : (ปุ.) ข้อเท้า, ตาตุ่ม วิ. โคปิยตีติ โคปฺโผ โคปฺผโก วา คุปฺ รกฺขเณ, โผ ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  35. ตทตฺถ : (อัพ. นิบาต) ความพยายามเพื่อประ – โยชน์แก่สิ่งนั้น วิ. ตสฺส อตฺถาย ตทตฺโถ (วายาโม). การทำเพื่อประโยชน์แก่สิ่งนั้น. ตทตฺถา (ภาวนา). จ.ตัป. รูปฯ ๓๓๖. ท หลัง ต ทั้ง ๕ ศัพท์นั้น คือ ทฺ อาคม.
  36. ทุรภิ ทุรม : (วิ.) อันรื่นรมย์ได้โดยยาก,ฯลฯ. ทุกฺข+รภฺธาตุในความยินดี อ ปัจ. ศัพท์ หลัง รมฺธาตุ.
  37. ปถาวี ปถิก : (ปุ.) คนไปในหนทาง, คนไปสู่ หนทาง, คนเดินทาง วิ. ปเถ ปถํ วา คจฺฉตีติ ปถาวี. วี ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ถ เป็น อา. อภิฯ ลง วี ปัจ.รูปฯ และ โมคฯ ลง อาวี ปัจ. ศัพท์ หลัง วิ. เหมือน ปถาวี. อภิฯ ลง อิก ปัจ.รูปฯ ลงณิก ปัจ.
  38. ปรตีร : (นปุ.) ฝั่งอื่น, ฝั่งโน้น, ฟากโน้น . ฟาก คือ ฝั่ง, ข้าง.
  39. พาห : (ปุ.) แง้มแห่งประตู (แง้มคือริม, ข้าง), บานแห่งประตู, ราว. วหฺ ปาปุณเน, โณ. แปลว่า เกวียน ก็ได้.
  40. สุกนฺทก : (ปุ.) หอมแดง, หัวหอม. วิ. สุนฺทโร กนฺโท ยสฺส โส สุกนฺทโก. ลง ก ปัจ. หลัง บทสมาส.
  41. สุว สุวก : (ปุ.) นกแก้ว, นกแขกเต้า. วิ. มนุสฺสสทฺทมฺปิ สุณาตีติ สุโว สุวโก วา. สุ สวเน, อ, อุวาเทโส. ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  42. โสคนฺธิก โสคนฺธิย : (นปุ.) จงกลนี วิ. สุคนฺเธน ยุตฺตํ โสคนฺธิกํ. ณิกปัจ. ศัพท์ หลัง แปลง ก เป็น ย.
  43. อจฺจร อจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจ ศัพย์ หลัง แปลง อ ที่ จ เป็น อุ.
  44. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  45. อธิกมาส : (ปุ.) เดือนเกิน, เดือนที่เพิ่มเข้ามา, อธิกมาสคือเดือนที่เพิ่มเข้ามา ปีนั้นมี ๑๓เดือน คือมีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ต้น หรือ เดือน ๘ แรก กับเดือน ๘ หลัง.
  46. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  47. อาหจฺจปาท : (ปุ.) เตียงมีขาจรดแม่แคร่. วิ. อฏนิยํ อาหจฺโจ ยสฺส ปาโท อาหจฺจปาโท. อาหจฺจ วา ปาโท ติฏฺฐติ ยสฺเสติ อาหจฺจปา โท. อาหจฺจ ของ วิ. หลัง เป็นศัพท์ กิริยากิตก์ ตูนาทิปัจ.
  48. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  49. อุปกฏฺฐ  อุปกฺกฏฺฐ : (วิ.) ใกล้, จวน. วิ. กณฺฐํ สมีป มุปคโต อุปกฏฺโฐ, กณฺฐสฺส กฏฺฐา- เทโส, ณโลโป วา, ฏฺสํโยโค. ลบ คต แล้วเปลี่ยนบทหน้าที่แปลงเป็น กฏฺฐ ไว้ หลัง. ส. อุปกณฺฐ.
  50. สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-578

(0.0865 sec)