Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คลาดแคล้ว, แคล้ว, คลาด , then คลว, คลาด, คลาดแคล้ว, แคล้ว .

Eng-Thai Lexitron Dict : คลาดแคล้ว, 7 found, display 1-7
  1. miss 1 : (VT) ; ไปไม่ทัน ; Related:คลาด, ไม่พบ ; Ant:catch
  2. inexact : (ADJ) ; ซึ่งคลาดเคลื่อน ; Related:ซึ่งผิดพลาด, ซึ่งไม่ตรง ; Syn:inaccurate, imprecise
  3. watch someone like a hawk : (IDM) ; เผ้าดูไม่คลาดสายตา ; Related:เผ้าดูอย่างดี
  4. deviation : (N) ; ความคลาดเคลื่อน ; Related:ค่าคลาดเคลื่อน ; Syn:error
  5. inaccurate : (ADJ) ; ซึ่งไม่ถูกต้อง ; Related:ซึ่งคลาดเคลื่อน ; Syn:incorrect ; Ant:accurate, correct
  6. inaccurately : (ADV) ; อย่างไม่ถูกต้อง ; Related:อย่างคลาดเคลื่อน ; Syn:incorrectly ; Ant:accurately, correctly
  7. unerring : (ADJ) ; ไม่ผิดพลาด ; Related:ไม่คลาดเคลื่อน, แม่นยำ, เที่ยงตรง ; Syn:unfailing, accurate, exact, perfect, sure, true ; Ant:error-ridden, flawed, imperfect

Thai-Eng Lexitron Dict : คลาดแคล้ว, more than 7 found, display 1-7
  1. คลาดแคล้ว : (V) ; elude (dangers) ; Related:head off, escape, turn danger into safety ; Syn:แคล้วคลาด, รอดไป, พ้นไป, รอด ; Samp:การเดินทางคราวนี้ฉันขอให้เธอคลาดแคล้วอันตรายทุกอย่าง
  2. คลาด : (V) ; miss ; Related:elude, let slip, fall to seize ; Syn:คลาดกัน ; Def:ไม่พบ ; Samp:ผมจ้องพี่ชายไว้ตลอดเวลาเพราะกลัวว่าเราจะคลาดกัน แล้วจะหาไม่เจอ
  3. แคล้ว : (V) ; miss ; Related:escape, avoid ; Syn:คลาดไป, รอดไป, พ้นไป ; Samp:ลูกๆ ของเขาช่างพูดวาดรูปเก่งกันทุกคนคงไม่แคล้วเจริญรอยตามคุณพ่ออย่างแน่นอน
  4. คลาด : (V) ; miss ; Related:fail ; Syn:พลาด ; Def:เคลื่อนจากที่หมาย, เคลื่อนจากกำหนดเวลา ; Samp:คุณคลาดนัดอีกแล้วเป็นครั้งที่ 3 แล้วนะ
  5. แคล้วคลาด : (V) ; miss ; Related:escape, avoid ; Syn:รอดไป, พ้นไป, รอดพ้น, ปราศจาก, คลาดแคล้ว ; Ant:ประสบ, พบเจอ ; Samp:้เขาแคล้วคลาดจากอันตรายทั้งปวง ก็เพราะมีความดีคุ้มครองนั่นเอง
  6. คลาดเคลื่อน : (V) ; be incorrect ; Related:be inexact, err, be in error, miss ; Syn:คลาด, พลาด ; Ant:ตรง, ถูกต้อง ; Def:เคลื่อนออกไปจากเป้าหมาย ; Samp:การประเมินผลของพวกเราคลาดคลาดเคลื่อนไปหลายครั้ง
  7. คลาดนัด : (V) ; miss an appointment ; Syn:พลาดนัด, ผิดนัด ; Samp:เวลาคุณมาไม่ตรงเวลาผมจะมีปัญหามากเพราะทำให้ผมคลาดนัดกับคนอื่น
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : คลาดแคล้ว, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : คลาดแคล้ว, more than 5 found, display 1-5
  1. คลาดแคล้ว : [-แคฺล้ว] ก. รอดไป, พ้นไป, แคล้วคลาด ก็ว่า.
  2. แคล้ว : [แคฺล้ว] ก. รอดไป, พ้นไป, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น เป็นเนื้อคู่กัน แล้วไม่แคล้วกัน ไม่แคล้วไม้เรียว.
  3. คลาด : [คฺลาด] ก. เคลื่อนจากที่หมาย, เคลื่อนจากกําหนดเวลา; ไม่พบ ในคําว่า คลาดกัน.
  4. แคล้วคลาด : ก. รอดไป, พ้นไป, คลาดแคล้ว ก็ว่า.
  5. คลาดเคลื่อน : [-เคฺลื่อน] ก. ผิดจากความเป็นจริง, ไม่ตรงตามความเป็นจริง, เคลื่อนคลาด ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : คลาดแคล้ว, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : คลาดแคล้ว, 10 found, display 1-10
  1. จิตตปาคุญญตา : ความคล่องแคล้วแห่งจิต, ธรรมชาติที่ทำจิตให้สละสลวย คล่องแคล่วว่องไว (ข้อ ๑๗ ในโสภณเจตสิก ๒๕)
  2. ตู่ : กล่าวอ้างหรือทึกทักเอาของผู้อื่นว่าเป็นของตัว, กล่าวอ้างผิดตัว ผิดสิ่ง ผิดเรื่อง, ในคำว่า กล่าวตู่พระพุทธเจ้า หรือตู่พุทธพจน์ หมายความว่า อ้างผิดๆ ถูกๆ, กล่าวสิ่งที่ตรัสว่ามิได้ตรัส กล่าวสิ่งที่มิได้ตรัสว่าได้ตรัสไว้, พูดให้เคลื่อนคลาดหรือไขว้เขวไปจากพุทธดำรัส, พูดใส่โทษ, กล่าวข่มขี่, พูดกด เช่น คัดค้านให้เห็นว่า ไม่จริงหรือไม่สำคัญ
  3. ทิฏฐิวิบัติ : วิบัตแห่งทิฐิ, ความผิดพลาดแห่งความคิดเห็น, ความเห็นคลาดเคลื่อน ผิดธรรมผิดวินัย ทำให้ประพฤติตนนอกแบบแผน ทำความผิดอยู่เสมอ (ข้อ ๓ ในวิบัติ ๔)
  4. ปักขคณนา : “การนับปักษ์”, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา
  5. ปักษคณนา : การนับปักษ์, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์ คือ คำนวณหาวันขึ้นแรมกี่ค่ำๆ ให้แม่นยำ ตรงตามการโคจรของดวงจันทร์อย่างแท้จริง เฉพาะอย่างยิ่งมุ่งให้ได้วันพระจันทร์เต็มดวงหรือวันเพ็ญ (ขึ้น ๑๔-๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ หรือวันดับ (แรม ๑๔-๑๕ ค่ำ) และวันพระจันทร์กึ่งดวง (ขึ้น ๘ ค่ำ และ แรม ๘ ค่ำ) ตรงกับวันที่ดวงจันทร์เป็นอย่างนั้นจริงๆ ซึ่งบางเดือนข้างขึ้นอาจมีเพียง ๑๔ วัน (วันเพ็ญ เมื่อขึ้น ๑๔ ค่ำ) ก็มีข้างแรมอาจมีเต็ม ๑๕ วันติดต่อกัน หลายเดือนก็มี ต้องตรวจดูเป็นปักษ์ๆ ไป จึงใช้คำว่าปักษ์ถ้วน ปักษ์ขาดไม่ใช่เพียงเดือนเต็ม เดือนขาด เป็นวิธีคำนวณที่สลับซับซ้อน ต่างจากปฏิทินหลวง หรือปฏิทินของราชการ ที่ใช้วิธีคำนวณเฉลี่ยให้ข้างขึ้นเต็ม ๑๕ วันเสมอไป ส่วนข้างแรม เดือนคู่มี ๑๕ วัน เดือนคี่เรียกว่าเดือนขาดมี ๑๔ วัน สลับกันไป (แม้จะคำนวณด้วยวิธีที่พิเศษออกไป แต่วันเดือนเพ็ญเดือนดับที่ตรงกันก็มาก ที่คลาดกันก็เพียงวันเดียว); ปักขคณนา นี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงค้นคิดวิธีคำนวณขึ้นใช้ในพระสงฆ์คณะธรรมยุต เพื่อเป็นเครื่องกำหนดวันสำหรับพระสงฆ์ทำอุโบสถ และสำหรับอุบาสกอุบาสิการักษาอุโบสถศีลฟังธรรมเป็นข้อปฏิบัติของคณะธรรมยุตสืบมา
  6. พิปลาส : กิริยาที่ถือโดยอาการวิปริตผิดจากความเป็นจริง, ความเห็นหรือความเข้าใจคลาดเคลื่อนจากสภาพที่เป็นจริง มีดังนี้; ก.วิปลาสด้วยอำนาจจิตต์และเจตสิก ๓ ประการ คือ ๑.วิปลาสด้วยอำนาจสำคัญผิด เรียกว่า สัญญาวิปลาส ๒.วิปลาสด้วยอำนาจคิดผิด เรียกว่า จิตตวิปลาส ๓.วิปลาสด้วยอำนาจเห็นผิด เรียกว่า ทิฏฐิวิปลาส ข.วิปลาสด้วยสามารถวัตถุเป็นที่ตั้ง ๔ ประการ คือ ๑.วิปลาสในของที่ไม่เที่ยง ว่าเที่ยง ๒.วิปลาสในของที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๓.วิปลาสในของที่ไม่ใช่ตน ว่าเป็นตน ๔.วิปลาสในของที่ไม่งาม ว่างาม
  7. ภัททกาปิลานี : พระมหาสาวิกาองค์หนึ่ง เป็นธิดาพราหมณ์โกสิยโคตรในสาคลนครแห่งมัททรัฐ (คัมภีร์อปทานว่าไว้ชัดดังนี้ แต่อรรถกถาอังคุตตรนิกายคลาดเคลื่อนเป็นแคว้นมคธ) พออายุ ๑๖ ปี ได้สมรสกับปิปผลิมาณพ (พระมหากัสสปะ) ต่อมามีความเบื่อหน่ายในฆราวาส จึงออกบวชเป็นปริพาชิกา เมื่อพระมหาปชาบดีผนวชเป็นภิกษุณีแล้ว นางได้มาบวชอยู่ในสำนักของพระมหาปชาบดี เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานด้วยความไม่ประมาท ได้บรรลุพระอรหัต ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะในทางปุพเพนิวาสานุสสติ เรียกภัททากาปิลานี บ้าง ภัททากปิลานีบ้าง
  8. ราชธรรม : ธรรมสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน, คุณสมบัติของนักปกครองที่ดี สามารถปกครองแผ่นดินโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดี มี ๑๐ ประการ (นิยมเรียกว่า ทศพิธราชธรรม) คือ ๑.ทาน การให้ทรัพย์สินสิ่งของ ๒.ศีล ประพฤติดีงาม ๓.ปริจจาคะ ความเสียสละ ๔.อาชชวะ ความซื่อตรง ๕.มัททวะ ความอ่อนโยน ๖.ตบะ ความทรงเผากิเลสตัณหา ไม่หมกมุ่นในความสุขสำราญ ๗.อักโกธะ ความไม่กริ้วโกรธ ๘.อวิหิงสา ความไม่ข่มเหงเบียดเบียน ๙.ขันติ ความอดทนเข็มแข็งไม่ท้อถอย ๑๐.อวิโรธนะ ความไม่คลาดธรรม
  9. วปลาส : กิริยาที่ถือโดยอาการวิปริตผิดจากความเป็นจริง, ความเห็นหรือความเข้าใจคลาดเคลื่อนจากสภาพที่เป็นจริง มีดังนี้; ก.วิปลาสด้วยอำนาจจิตต์และเจตสิก ๓ ประการ คือ ๑.วิปลาสด้วยอำนาจสำคัญผิด เรียกว่า “สัญญาวิปลาส” ๒.วิปลาสด้วยอำนาจคิดผิด เรียกว่า “จิตตวิปลาส” ๓.วิปลาสด้วยอำนาจเห็นผิด เรียกว่า “ทิฏฐิวิปลาส” ข.วิปลาสด้วยสามารถวัตถุเป็นที่ตั้ง ๔ ประการ คือ ๑.วิปลาสในของที่ไม่เที่ยง ว่าเที่ยง ๒.วิปลาสในของที่เป็นทุกข์ว่าเป็นสุข ๓.วิปลาสในของที่ไม่ใช่ตน ว่าเป็นตน ๔.วิปลาสในของที่ไม่งาม ว่างาม
  10. สัมปชานมุสาวาท : ผู้รู้อยู่กล่าวเท็จ, การพูดเท็จทั้งที่รู้ คือรู้ความจริง แต่จงใจพูดให้คลาดจากความจริง เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจเป็นอย่างอื่นจากความจริง (สิกขาบทที่ ๑ แห่งมุสาวาทวรรค ปาจิตติยกัณฑ์)

ETipitaka Pali-Thai Dict : คลาดแคล้ว, 6 found, display 1-6
  1. ปธสติ : ก. ตก, หล่น, เสื่อม, คลาด
  2. ทิฏฺฐิวิปลฺลาส : ป. ทิฐิวิปลาส, ความเห็นคลาดเคลื่อน
  3. ปมาทปาฐ : ป. ข้อความที่เขียนด้วยพลั้งเผลอ, ข้อความคลาดเคลื่อน
  4. อวิปลฺลตฺถ : ค. ไม่ผิด, ไม่ผันแปร, ไม่คลาดเคลื่อน, ไม่สำคัญผิด
  5. อวิสวาทก : ค. ผู้ไม่พูดหลอกลวง, ผู้ไม่พูดคลาดเคลื่อนจากความจริง
  6. อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : คลาดแคล้ว, 1 found, display 1-1
  1. กล่าวให้คลาดคลื่น : วิสํวาทนํ

(0.2043 sec)