Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความบาดหมาง, บาดหมาง, ความ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ความบาดหมาง, more than 7 found, display 1-7
  1. discordance : (N) ; ความบาดหมาง ; Related:ความไม่ลงรอยกัน, การทะเลาะวิวาท ; Syn:disagreement, dispute
  2. vendetta : (N) ; ความพยาบาท ; Related:ความอาฆาต, ความบาดหมาง, การทะเลาะเบาะแว้ง, การโต้เถียง ; Syn:feud, rivalry, contention
  3. ability : (N) ; ความสามารถ ; Related:ความมีฝีมือ, ความมีทักษะ, สมรรถภาพ ; Syn:capability, expertness ; Ant:inability, unfitness
  4. Eng-Thai Lexitron Dict : ความบาดหมาง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ความบาดหมาง, more than 7 found, display 1-7
  1. ความบาดหมาง : (N) ; conflict ; Related:dissension, disagreement, offense, controversy, quarrel ; Syn:ความโกรธเคือง, ความหมองใจ, การผิดใจ ; Samp:ความบาดหมางระหว่างเพื่อนครั้งนี้เกิดขึ้นจากการไม่เข้าใจกัน
  2. บาดหมาง : (V) ; have dissension ; Related:have a rift, be on bad terms, disagree, become estranged ; Syn:ขัดแย้ง, ผิดใจ ; Def:โกรธเคืองกันเพราะเห็นไม่ตรงกัน, หมองใจกัน ; Samp:ความสัมพันธ์ระหว่างไทยลาวนั้นเริ่มบาดหมางกันในสมัยเจ้าสิริบุญสาร
  3. ความ : (N) ; content ; Related:information ; Syn:เนื้อความ, เรื่อง ; Samp:ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก
  4. ความ : (N) ; case ; Related:lawsuit ; Syn:ข้อคดี ; Def:คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล ; Samp:คดีที่เป็นตัวอย่างการพิจารณาความอาญาเก็บไว้ในห้องสมุด
  5. ความระหองระแหง : (N) ; discord ; Related:disagreement, dissension, conflict, quarrelsome ; Syn:ความร้าวฉาน, ความบาดหมาง ; Ant:ความปรองดอง, ความสามัคคี ; Def:ความไม่ลงรอยกัน ; Samp:ความระหองระแหงในบ้านเกิดจากพ่อไปมีเมียน้อย
  6. ความร้าวฉาน : (N) ; disunion ; Related:dissociation, split, rupture, discord, disagreement, dissension, disjunction ; Syn:ความระหองระแหง, ความแตกร้าว, ความบาดหมาง ; Ant:ความสามัคคี, ความปรองดอง ; Samp:ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทำให้เกิดเป็นความร้าวฉานระหว่างสถาบัน
  7. ความแตกแยก : (N) ; disharmony ; Related:disunion, separation ; Syn:ความแตกร้าว, ความระหองระแหง, ความบาดหมาง ; Ant:ความสามัคคี, ความปรองดอง ; Samp:ขณะนี้เริ่มมีความแตกแยกทางความคิดขึ้นในองค์กรการศึกษา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ความบาดหมาง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความบาดหมาง, more than 5 found, display 1-5
  1. ความ : [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
  2. บาดหมาง : ก. โกรธเคืองกัน, หมองใจกัน, ผิดใจกัน.
  3. ความคิด : น. สิ่งที่นึกรู้ขึ้นในใจ; ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหา ความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์; สติ ปัญญาที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถูกต้องและสมควร เช่น คนทำลาย ของสาธารณะเป็นพวกไม่มีความคิด.
  4. ความชอบ : น. คุณงามความดีที่ควรได้รับบําเหน็จรางวัล.
  5. ความเป็นความตาย : น. เรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ เป็นความเป็นความตายของชาติ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ความบาดหมาง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ความบาดหมาง, more than 5 found, display 1-5
  1. ความค้ำ : ในประโยคว่า เราจักไม่ทำความค้ำ ไปในละแวกบ้าน เดินเอามือค้ำบั้นเอว นั่งเท้าแขน
  2. ความปรารถนา : ของบุคคลในโลกที่ได้สมหมายด้วยยาก ๔ อย่าง ดู ทุลลภธรรม
  3. ความไม่ประมาท : ดู อัปปมาท
  4. กระแสความ : แนวความ
  5. อนุสนธิ : การติดต่อ, การสืบเนื่อง, ความ หรือเรื่องที่ติดต่อหรือสืบเนื่องกันมา
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ความบาดหมาง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความบาดหมาง, more than 5 found, display 1-5
  1. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  2. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  3. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  4. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  5. ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ความบาดหมาง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความบาดหมาง, more than 5 found, display 1-5
  1. ความกระหาย : ปิปาสา, ตสฺสนํ
  2. ความกว้างขวาง : อายติ [อิ.]
  3. ความกำเริบ : กุปฺปนํ [นป.]
  4. ความกำหนัด : กามราโค [ป.]
  5. ความเกรงกลัวต่อบาป : โอตฺตปฺปํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความบาดหมาง, more results...

(0.4295 sec)