Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความใส่ใจ, ใส่ใจ, ความ , then ความ, ความสจ, ความใส่ใจ, สจ, ใส่ใจ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ความใส่ใจ, more than 7 found, display 1-7
  1. attentive : (ADJ) ; ใส่ใจ ; Related:เป็นห่วงเป็นใย ; Syn:observant, mindful, intent
  2. unfeelingness : (N) ; ความไม่ใส่ใจผู้อื่น ; Related:ความไม่เห็นใจผู้อื่น
  3. devil-may-care attitude : (IDM) ; ความไม่ใส่ใจ ; Related:การไม่สนใจ
  4. devil-may-care manner : (IDM) ; ความไม่ใส่ใจ ; Related:การไม่สนใจ, การไม่ทุกข์ร้อน (ในเรื่องงาน)
  5. perfunctoriness : (N) ; ความไม่ใส่ใจเพราะเคยชิน ; Syn:negligence
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : ความใส่ใจ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ความใส่ใจ, more than 7 found, display 1-7
  1. ความใส่ใจ : (N) ; attention ; Related:care, heedfulness ; Syn:ความเอาใจใส่, ความตั้งใจ ; Def:การเอาใจใส่จดจ่อ, การให้ความสนใจ ; Samp:นายกรัฐมนตรีให้ความใส่ใจกับการแก้ปัญหาที่สำคัญของประเทศ
  2. ใส่ใจ : (V) ; attend ; Related:pay attention, give heed ; Syn:ตั้งใจ, เอาใจจดจ่อ, สนใจ
  3. ความ : (N) ; content ; Related:information ; Syn:เนื้อความ, เรื่อง ; Samp:ผมให้แปลเอาความเท่านั้น ไม่ต้องใส่รายละเอียดมาก
  4. ความ : (N) ; case ; Related:lawsuit ; Syn:ข้อคดี ; Def:คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล ; Samp:คดีที่เป็นตัวอย่างการพิจารณาความอาญาเก็บไว้ในห้องสมุด
  5. ความใฝ่ใจ : (N) ; taking interest ; Syn:ความใส่ใจ, ความเอาใจใส่ ; Def:การเอาใจผูกพันอยู่
  6. กระแสความ : (N) ; content ; Related:subject matter ; Syn:ความ ; Samp:โปรดฟังเรื่องนี้ให้จบกระแสความก่อน ; Unit:ความ
  7. ความกลมกลืน : (N) ; harmony ; Related:accord ; Syn:ความสอดคล้อง, ความเหมาะสม ; Ant:ความขัดแย้ง ; Def:ความเข้ากันได้ดีไม่ขัดแย้งกัน ; Samp:ความกลมกลืนของเนื้อร้องและทำนองทำให้เพลงนี้ได้รับความนิยม
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ความใส่ใจ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ความใส่ใจ, more than 5 found, display 1-5
  1. ความ : [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
  2. ความคิด : น. สิ่งที่นึกรู้ขึ้นในใจ; ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหา ความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์; สติ ปัญญาที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถูกต้องและสมควร เช่น คนทำลาย ของสาธารณะเป็นพวกไม่มีความคิด.
  3. ความชอบ : น. คุณงามความดีที่ควรได้รับบําเหน็จรางวัล.
  4. ความเป็นความตาย : น. เรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ เป็นความเป็นความตายของชาติ.
  5. ความมุ่งหมาย : น. ความตั้งใจ, เจตนา, เช่น ถนนสายนี้สร้างขึ้นด้วย ความมุ่งหมายเพื่อย่นระยะทาง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ความใส่ใจ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ความใส่ใจ, more than 5 found, display 1-5
  1. อัญญสมานาเจตสิก : เจตสิกที่มีเสมอกันแก่จิตพวกอื่น คือ ประกอบเข้าได้รับกับจิตทุกฝ่ายทั้งกุสลและอกุศล มิใช่เข้าได้ฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว มี ๑๓ แยกเป็น ก) สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตทุกดวง) ๗ คือ ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์) เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย์ มนสิการ (ความกระทำอารมณ์ไว้ในใจ, ใส่ใจ) ข) ปกิณณกเจตสิก (เจตสิกที่เรี่ยราย คือ เกิดกับจิตได้ทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล แต่ไม่แน่นอนเสมอไปทุกดวง) ๖ คือ วิตก (ความตรึกอารมณ์) วิจาร (ความตรองอารมณ์) อธิโมกข์ (ความปักใจในอารมณ์) วิริยะ ปีติ ฉันทะ (ความพอใจในอารมณ์)
  2. คารวะ : ความเคารพ, ความเอื้อเฟือ, ความใส่ใจมองเห็นความสำคัญที่จะต้องปฏิบัติต่อสิ่งนั้นๆ ให้ถูกต้องเหมาะสม มี ๖ อย่างคือ ๑.พุทฺธคารวตา ความเคารพในพระพุทธเจ้า ๒.ธมฺมคารวตา ความเคารพในพระธรรม ๓.สงฺฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆ์ ๔.สิกฺขาคารวตา ความเคารพในการศึกษา ๕.อปฺปมาทคารวตา ความเคารพในความไม่ประมาท ๖.ปฏิสนฺถารคารวตา ความเคารพในปฏิสันถาร คือ การต้อนรับปราศรัย
  3. ความค้ำ : ในประโยคว่า เราจักไม่ทำความค้ำ ไปในละแวกบ้าน เดินเอามือค้ำบั้นเอว นั่งเท้าแขน
  4. ความปรารถนา : ของบุคคลในโลกที่ได้สมหมายด้วยยาก ๔ อย่าง ดู ทุลลภธรรม
  5. ความไม่ประมาท : ดู อัปปมาท
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ความใส่ใจ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความใส่ใจ, more than 5 found, display 1-5
  1. อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
  2. อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
  3. มนสิการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ, การกำหนดในใจ, การใส่ใจ, การพิจารณา, ความกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ.
  4. โยนิโสมนสิการ : (ปุ.) การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย, การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันถูกทาง, การใส่ใจโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยถูกทาง, การพิจารณาโดยแยบคาย, การพิจารณาโดยถี่ถ้วน, การพิจารณาโดยละเอียดถี่ถ้วน, ความพิจารณาโดยถูกทาง, ฯลฯ.
  5. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ความใส่ใจ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความใส่ใจ, more than 5 found, display 1-5
  1. ใส่ใจ : มนสิกโรนฺติ, สญฺญํ กตฺวา
  2. ความกระหาย : ปิปาสา, ตสฺสนํ
  3. ความกว้างขวาง : อายติ [อิ.]
  4. ความกำเริบ : กุปฺปนํ [นป.]
  5. ความกำหนัด : กามราโค [ป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ความใส่ใจ, more results...

(0.7070 sec)