Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งใจ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ตั้งใจ, more than 7 found, display 1-7
  1. aim : (VT) ; ตั้งใจ
  2. intend : (VT) ; ตั้งใจ ; Related:มุ่งหมาย, มีเป้าหมายที่จะทำ ; Syn:aim, plan, purpose
  3. intend : (VI) ; ตั้งใจ ; Related:มุ่งหมาย, มีเป้าหมายที่จะ ; Syn:aim, plan, purpose
  4. Eng-Thai Lexitron Dict : ตั้งใจ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ตั้งใจ, more than 7 found, display 1-7
  1. ตั้งใจ : (V) ; concentrate one's attention ; Related:pay attention, study carefully, absorb ; Syn:เอาใจใส่, ตั้งอกตั้งใจ ; Def:เอาใจจดจ่อ ; Samp:ผมตั้งใจเรียนเพื่อให้ได้เป็นหมออย่างที่พ่อแม่หวังไว้
  2. ตั้งใจ : (V) ; intend (to) ; Related:incline, dispose, aim, design, purpose, have a mine, mean (to) ; Syn:วางแผน, มุ่งหมาย, เจตนา, มุ่งมั่น ; Samp:เขาตั้งใจที่จะพาครอบครัวไปหัวหินอาทิตย์นี้
  3. กำหนดใจ : (V) ; intend ; Related:concentrate, contemplate, determine ; Syn:ตั้งใจ ; Def:มุ่งหมายในใจ
  4. มาดมั่น : (V) ; intend ; Related:be confident ; Syn:ตั้งใจ ; Samp:ผมมาดมั่นไว้ตั้งแต่เด็กแล้วว่า จะต้องเป็นตำรวจให้ได้
  5. ตั้งใจจริง : (ADV) ; seriously ; Related:earnestly, in earnest, solemnly, gravely ; Syn:เอาจริง, เอาจริงเอาจัง, มุ่งมั่น ; Ant:เหยาะแหยะ, เล่นๆ ; Def:อย่างเป็นงานเป็นการ, อย่างเป็นเรื่องเป็นราว ; Samp:น้องอ่านหนังสืออย่างตั้งใจจริง หวังจะสอบให้ติดคณะที่ต้องการให้ได้
  6. ตั้งใจจริง : (V) ; determine ; Related:intend, mean, aim, have in mind ; Syn:เอาจริง, เอาจริงเอาจัง, มุ่งมั่น ; Ant:เหยาะแหยะ, เล่นๆ ; Def:มุ่งมั่นอย่างเป็นงานเป็นการ, ทำเป็นเรื่องเป็นราว ; Samp:เขาตั้งใจจริงที่จะฟื้นฟูป่าให้กลับสู่สภาพเดิมให้ได้
  7. ตั้งใจฟัง : (V) ; pay attention to listen to ; Def:เอาใจจดจ่อกับการฟังไม่วอกแวก ; Samp:หลานๆ ตั้งใจฟังเรื่องผีที่คุณตาเล่าอย่างใจจดใจจ่อ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ตั้งใจ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ตั้งใจ, more than 5 found, display 1-5
  1. คิด : ก. ทําให้ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องขึ้นในใจ; ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, เช่น เรื่องนี้ยากยังคิดไม่ออก; คาดคะเน เช่น คิดว่าเย็นนี้ฝนอาจจะตก; คํานวณ เช่น คิดเลขในใจ; มุ่ง, จงใจ, ตั้งใจ, เช่น อย่าคิดร้ายเขาเลย; นึก เช่น คิดละอาย.
  2. ตั้ง : ก. ชูตัว, ชูตัวหรือทําให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม, เช่น ขนตั้งชัน ต้นข้าว เอนแล้วกลับตั้งขึ้น ตั้งขวด ตั้งตุ๊กตา; ทรง, ดํารง, เช่น ตั้งอยู่ในคลองธรรม ตั้งอยู่ในศีลในธรรม; ทําให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น, เช่น ตั้งตําแหน่งใหม่ ตั้งบ้านตั้งเรือน; ยกฐานะให้สูงขึ้น เช่น ตั้งพระราชาคณะ ตั้ง เปรียญ; กําหนด เช่น ตั้งราคา; วาง เช่น ตั้งสํารับ; วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น ตั้งหนังสือเป็นกองสูง; เริ่ม, เริ่มมี, เช่น ตั้งครรภ์ ตั้งเค้า ตั้งท้อง. บ. คําแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน เช่น เสียตั้งชั่ง ไปตั้งปี. น. ลักษณนามเรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ เช่น หนังสือตั้งหนึ่ง หนังสือ ๒ ตั้ง, ครั้ง เช่น มาลองกันดูสักตั้ง. ตั้งกรม ก. สถาปนาเจ้านายขึ้นทรงกรม. ตั้งเข็ม, ตั้งเป้าหมาย ก. ตั้งความมุ่งหมาย, กําหนดจุดมุ่งหมาย. ตั้งไข่ ก. สอนยืน (ใช้แก่เด็ก). ตั้งเค้า ก. เริ่มแสดงท่าทีให้รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เช่น ฝนตั้งเค้า. ตั้งแง่ ก. ทําชั้นเชิง, ไม่ตรงไปตรงมา, คอยหาเรื่องจับผิด. ตั้งใจ, ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดใจจ่อ. ตั้งต้น ก. เริ่มทํา, ขึ้นต้น. ตั้งตัว ก. ตั้งฐานะหรือตั้งหลักฐาน; ยกย่องตัว, สถาปนาตัว, เช่น ตั้งตัวเป็นหัวหน้า ตั้ง ตัวเป็นใหญ่. ตั้งตาคอย ก. เฝ้าคอย. ตั้งแต่ บ. นับจากเวลาหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งเป็นต้นไป (มักใช้เข้าคู่กับคำ จนถึง หรือ จน กระทั่ง). ตั้งแต่ง ก. ยกขึ้น, สถาปนา. ตั้งโต๊ะ ก. จัดโต๊ะอาหาร; จัดโต๊ะหมู่บูชา. ตั้งท้อง ว. เรียกข้าวที่มีรวงอ่อน ๆ ว่า ข้าวตั้งท้อง. ตั้งท่า ก. วางท่า; เตรียมตัวพร้อม, คอยทีอยู่. ตั้งธาตุ ก. จัดระบบการย่อยอาหารให้เป็นปรกติ. ตั้งนาฬิกา ก. เทียบนาฬิกาให้ตรงเวลา. ตั้งนาฬิกาปลุก ก. ตั้งเวลาให้นาฬิกาปลุกตามที่ต้องการ. ตั้งหน้า, ตั้งหน้าตั้งตา ก. มุ่งหน้า; ตั้งใจทํา, ทําอย่างจริงจัง, มุ่งมั่น. ตั้งหัวเรือ ก. ทําให้เรืออยู่ในแนว ไม่ให้หัวเรือส่ายไปมา. ตั้งอกตั้งใจ ก. เอาใจจดจ่อ, ตั้งใจ ก็ว่า.
  3. จำนง : ก. ประสงค์, มุ่งหวัง, ตั้งใจ. (แผลงมาจาก จง).
  4. ปัจจุทธรณ์ : [ปัดจุดทอน] (แบบ) น. การถอนคืน. ก. ถอนคืน (ในวินัยใช้คู่กับ อธิษฐาน ซึ่งแปลว่า ตั้งใจ เช่น อธิษฐานสบง คือตั้งใจให้เป็นสบง ครอง ภายหลังไม่อยากให้เป็นสบงครองก็ถอนคืนสบงนั้น เรียกว่า ปัจจุทธรณ์สบง). (ป.).
  5. มุ่ง : ก. ตั้งใจ เช่น มุ่งทำความดี, ตั้งหน้า เช่น มุ่งศึกษาหาความรู้, ในบทกลอนใช้ว่า ม่ง ก็มี.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ตั้งใจ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ตั้งใจ, more than 5 found, display 1-5
  1. ตั้งใจชอบ : ดู สัมมาสมาธิ
  2. กรวดน้ำ : ตั้งใจอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ พร้อมไปกับหลั่งรินน้ำเป็นเครื่องหมาย และเป็นเครื่องรวมกระแสจิตที่ตั้งใจอุทิศนั้นให้แน่วแน่; เริ่มรินน้ำเมื่อพระองค์หัวหน้าเริ่มสวดยถา รินน้ำหมดพร้อมกับพระหัวหน้าสวดยถาจบ และพระทั้งหมดเริ่มสวดพร้อมกัน จากนั้นวางที่กรวดน้ำลงแล้วประนมมือรับพรต่อไป; คำกรวดน้ำอย่างสั้นว่า อิทัง โน ญาตีนัง โหตุ ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่....(ออกชื่อผู้ล่วงลับ) และญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าเถิด จะต่ออีกก็ได้ว่า สุขิตา โหนตุ ญาตโย ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุขเถิด - to pour the water of dedication (to transfer merit to other beings)
  3. มิจฉาสมาธิ : ตั้งใจผิด ได้แก่ จดจ่อ ปักใจ แน่วในกามราคะ ในพยาบาท เป็นต้น
  4. ให้ทานโดยเคารพ : ตั้งใจให้อย่างดี เอื้อเฟื้อแก่ของที่ตัวให้และผู้รับทานไม่ทำอาการดุจทิ้งเสีย
  5. กตัตตากรรม : กรรมสักว่าทำ, กรรมที่เป็นกุศลก็ตาม อกุศลก็ตาม สักแต่ว่าทำคือไม่ได้จงใจจะให้เป็นอย่างนั้นโดยตรง หรือมีเจตนาอ่อนไม่ชัดเจน ย่อมให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่น ท่านเปรียบเสมือนคนบ้ายิงลูกศร ย่อมไม่มีความหมายจะให้ถูกใคร ทำไปโดยไม่ตั้งใจชัดเจน ดู กรรม๑๒ - casual act, cumulative or reserve Karma.
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ตั้งใจ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งใจ, more than 5 found, display 1-5
  1. จิกิจฺฉติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
  2. จินฺติต : ๑. (อันเขา) คิดแล้ว, ดำริแล้ว, สร้างแล้ว ๒. นป. การคิด, ดำริ, ตรึก, ตั้งใจ
  3. เจจฺจ : อ. แกล้ง, จงใจ, ตั้งใจ
  4. เจตยติ : ก. จงใจ, ตั้งใจ, มุ่งหมาย, คิด
  5. นิสาเมติ : ก. ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งใจ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตั้งใจ, 1 found, display 1-1
  1. ตั้งใจทำ, แกล้ง : สญฺจิจฺจ กตํ

(0.0404 sec)