Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ฉบับร่าง, ร่าง, ฉบับ , then ฉบบ, ฉบบราง, ฉบับ, ฉบับร่าง, ราง, ร่าง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ฉบับร่าง, more than 7 found, display 1-7
  1. draft : (VT) ; ร่าง ; Syn:plot, scheme
  2. redact : (VT) ; ร่าง ; Related:เรียบเรียง ; Syn:compose, draft
  3. draft : (N) ; เอกสารฉบับร่าง ; Related:ฉบับร่าง, ร่างจดหมาย, แผนร่าง
  4. issue : (N) ; ฉบับ ; Related:ชุด, จำนวน ; Syn:edition, copy, number
  5. version : (N) ; ฉบับ ; Related:ชุด, เวอร์ชั่น ; Syn:issue
  6. outline : (VT) ; ร่างภาพ ; Related:ร่าง ; Syn:sketch, draft
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ฉบับร่าง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ฉบับร่าง, more than 7 found, display 1-7
  1. ฉบับร่าง : (N) ; draft ; Related:early version, preliminary outline ; Def:ฉบับที่ทำเพียงเค้าโครงขึ้นมา เพื่อลอกคัดหรือแต่งภายหลัง ; Samp:หัวหน้าจัดการส่งฉบับร่างของแบบงานไปให้สถาปนิก พร้อมกับคำสั่งให้ดำเนินงานได้เลย ; Unit:ฉบับ
  2. ฉบับร่าง : (ADJ) ; draft ; Related:draught ; Def:ที่ทำเพียงเค้าโครงขึ้นมา เพื่อลอกคัดหรือแต่งภายหลัง ; Samp:ที่ประชุมมีมติให้จัดทำกฎหมายฉบับร่างขึ้นมาก่อน แล้วจึงแก้ไขตามสมควรภายหลัง
  3. ร่าง : (N) ; draft ; Syn:โครง ; Samp:กองกำกับการตำรวจจราจรเสนอร่างระเบียบการจราจรฉบับใหม่ เรื่องการห้ามจอดรถตลอดวันในถนนทุกสายของกรุงเทพ
  4. ร่าง : (N) ; figure ; Related:physique, form, shape, build ; Syn:รูปร่าง, ตัว ; Samp:เพราะเขาเป็นคนร่างใหญ่กำยำ กำปั้นหนัก จึงเป็นที่เกรงขามของแก๊งสเตอร์ทั้งหลาย
  5. ร่าง : (N) ; body ; Syn:ร่างกาย ; Samp:เมื่อสิ้นเสียงปืน ร่างของเขาก็ทรุดฮวบลงกับพื้นทันที พร้อมกับชักกระตุกชั่วขณะ ก่อนจะแน่นิ่งไป
  6. ร่าง : (V) ; draft ; Related:sketch out, outline, draw up, formulate ; Def:ทำรูปโครงขึ้น เพื่อลอกคัด หรือแต่งภายหลัง ; Samp:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีคำสั่งให้เขาร่างเนื้อหาหลักสูตรฝึกอบรมครู
  7. ฉบับ : (CLAS) ; copy ; Related:issue ; Samp:บ้านนี้รับหนังสือพิมพ์วันละ 2 ฉบับ ; Unit:ฉบับ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ฉบับร่าง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ฉบับร่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. ร่าง : น. รูปทรง, โครง, ตัว, เช่น เอวบางร่างน้อย ร่างเล็ก ร่างล่ำสัน. ก. ทํารูป โครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ร่างพระราชบัญญัติ ร่างภาพ. ว. ที่ทำรูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ฉบับร่าง ต้นร่าง ภาพร่าง โครงร่าง.
  2. ฉบับ : [ฉะ-] น. หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสํานวนแตกต่างกันเป็นต้น เช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ต้นเดิมของหนังสือที่พิมพ์หรือ เขียน เรียกว่า ต้นฉบับ; ลักษณนามเรียกหนังสือเล่มหรือหนังสือเป็นแผ่น ที่ถือว่าเป็นหน่วยหนึ่ง ๆ เช่น จดหมาย ๓ ฉบับ สลากกินแบ่ง ๕ ฉบับ หนังสือสัญญา ๒ ฉบับ. (ข. จฺบาบ่).
  3. ต้นร่าง : น. ฉบับที่ร่างไว้เดิม.
  4. ร่างร้าน : น. โครงร่างที่ทําด้วยไม้หรือโลหะ สําหรับนั่งหรือปีนป่าย ในการก่อสร้างสิ่งสูง ๆ เช่นพระเจดีย์หรือตึก, นั่งร้าน ก็ว่า.
  5. อัน : น. สิ่ง, ชิ้น; ทะลาย เช่น อันหมาก อันมะพร้าว; คําบอกลักษณะ สิ่งของซึ่งโดยปรกติมีลักษณะแบนยาวหรือเป็นชิ้นเป็นแผ่นเป็นต้น, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ไม้อันหนึ่ง ไม้ ๒ อัน; เวลากําหนดสําหรับชนไก่พักหนึ่ง ๆ. ส. คำใช้แทนนามหรือ ข้อความที่อยู่ข้างหน้า เช่น ความจริงอันปรากฏขึ้นมา. ว. อย่าง เช่น เป็นอันมาก เป็นอันดี, ใช้เป็นคำนำหน้านามที่เป็นประธาน หรือใช้ขึ้นต้นข้อความต่าง ๆ เช่น อันอายุความนั้น ถ้าไม่มีกฎหมาย บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ท่านให้มีกำหนดสิบปี. (ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๑๖๔ ฉบับเก่า), ใช้ว่า อันว่า ก็มี เช่น อันว่า ทรัพย์นั้น โดยนิตินัยได้แก่วัตถุมีรูปร่าง. (ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา ๙๘ ฉบับเก่า).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ฉบับร่าง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ฉบับร่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. กาฬสิลา : สถานที่สำคัญแห่งหนึ่งในแคว้นมคธ อยู่ข้างภูเขาอิสิคิลิ พระนครราชคฤห์ ณ ที่นี้พระพุทธเจ้าเคยทำนิมิตโอภาสแก่พระอานนท์และเป็นที่ที่พระโมคคัลลานะ ถูกคนร้ายซึ่งรับจ้างจากพวกเดียรถีย์ไปลอบฆ่าด้วยการทุบตีจนร่างแหลก
  2. เจตภูต : สภาพเป็นผู้คิดอ่าน, ตามที่เข้าใจกัน หมายถึงดวงวิญญาณหรือดวงชีพอันเที่ยงแท้ที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ และเป็นตัวไปเกิดใหม่เมื่อกายนี้แตกทำลาย เป็นคำที่ไทยเราใช้เรียกแทนคำว่า อาตมัน หรืออัตตาของลัทธิพราหมณ์และเป็นความเชื่อนอกพระพุทธศาสนา
  3. ทวัตติงสาการ : อาการ ๓๒, ส่วนประกอบที่มีลักษณะต่างๆ กัน ๓๒ อย่าง ในร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า (อุจจาระ) มันสมอง ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร (ปัสสาวะ); ในขุททกปาฐะ (ฉบับสยามรัฐ) เรียงลำดับมันสมองไว้เป็นข้อสุดท้าย; ทวัตดึงสาการ หรือ ทวดึงสาการ ก็เขียน
  4. นาม : ธรรมที่รู้จักกันด้วยชื่อ กำหนดรู้ด้วยใจ เป็นเรื่องของจิตใจ, สิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่ใช่รูปแต่น้อมมาเป็นอารมณ์ของจิตได้ 1.ในที่ทั่วไปหมายถึงอรูปขันธ์ ๔ คือ เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ 2.บางแห่งหมายถึงอรูปขันธ์ ๔ นั้นและนิพพาน (รวมทั้งโลกุตตรธรรมอื่นๆ) 3.บางแห่งเช่นในปฏิจจสมุปบาท บางกรณีหมายเฉพาะเจตสิกธรรมทั้งหลาย เทียบ รูป
  5. ปรมาตมัน : อาตมันสูงสุด หรออัตตาสูงสุด (บรมอาตมัน หรือ บรมอัตตา) เป็นสภาวะแท้จริง และเป็นจุดหมายสูงสุดตามหลักความเชื่อของศาสนาฮินดู (เดิมคือศาสนาพราหมณ์) ซึ่งถือว่า ในบุคคลแต่ละคนนี้ มีอาตมัน คือ อัตตาหรือตัวตน สิงสู่อยู่ครอง เป็นสภาวะเที่ยงแท้ถาวรเป็นผู้คิดผู้นึก ผู้เสวยเวทนา เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนย่อยที่แบ่งภาคออกมาจากปรมาตมันนั้นเอง เมื่อคนตาย อาตมันนี้ออกจากร่างไป สิงอยู่ในร่างอื่นต่อไป เหมือนถอดเสื้อผ้าเก่าสวมเสื้อผ้าใหม่ หรือออกจากเรือนเก่าไปอยู่ในเรือนใหม่ ได้เสวยสุขหรือทุกข์ เป็นต้น สุดแต่กรรมที่ได้ทำไว้ เวียนว่ายตายเกิดเรื่อยไป จนกว่าจะตระหนักรู้ว่าตนเองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับปรมาตมัน และเข้าถึงความบริสุทธิ์จากบาปโดยสิ้นเชิง จึงจะได้กลับเข้ารวมกับปรมาตมันดังเดิม ไม่เวียนตายเวียนเกิดอีกต่อไป, ปรมาตมันนี้ ก็คือ พรหม หรือ พรหมัน นั่นเอง
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ฉบับร่าง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ฉบับร่าง, more than 5 found, display 1-5
  1. กงฺกล : ป., นป. โครงกระดูก, ร่าง, โซ่
  2. อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
  3. อนุปุพฺพี : (อิต.) กระบวน, แบบ, ฉบับ, แบบฉบับ, ลำดับ.
  4. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  5. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ฉบับร่าง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ฉบับร่าง, 3 found, display 1-3
  1. รูปร่าง (เล็ก) : จูฬ, อณุ
  2. ละร่าง, ละสายตา : วิชหิ, ชหิตฺวา
  3. สิงร่าง : อธิมุจฺจิ

(0.2033 sec)