Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชัดเจน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ชัดเจน, more than 7 found, display 1-7
  1. marked : (ADJ) ; ชัดเจน ; Related:ที่เห็นได้ชัดเจน, โดดเด่น ; Syn:noticeable ; Ant:ordinary
  2. apparent : (ADJ) ; ชัดเจน ; Related:เด่นชัด ; Syn:obvious, evident
  3. apparently : (ADV) ; ชัดเจน ; Related:ชัดแจ้ง ; Syn:obviously, evidently
  4. articulate : (adj) ; ชัดเจน ; Syn:clear
  5. bold : (ADJ) ; ชัดเจน ; Related:เห็นชัด ; Syn:marked ; Ant:unnoticeable
  6. clean-cut : (ADJ) ; ชัดเจน ; Syn:clear, distinct
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ชัดเจน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ชัดเจน, more than 7 found, display 1-7
  1. ชัดเจน : (V) ; be obvious ; Related:be clear, be distinct, be lucid, be explicit ; Syn:ชัด, แจ่มชัด, ชัดแจ้ง ; Samp:นโยบายการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมของรัฐบาลชัดเจนขึ้น
  2. ชัดเจน : (ADV) ; clearly ; Related:distinctly, obviously, explicitly, lucidly ; Syn:แจ่มชัด, ชัดแจ้ง ; Samp:ข่าวจากหนังสือพิมพ์เขียนชัดเจนว่าใครเป็นผู้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง
  3. ชัดแจ๋ว : (V) ; clear ; Related:distinct, obvious ; Syn:ชัดเจน ; Def:เห็นได้ชัดเจนแก่สายตา ; Samp:หนังที่เช่ามาชัดแจ๋วเลยเพราะเป็นแผ่นต้นฉบับ
  4. ถนัดตา : (ADV) ; obviously ; Related:distinctly ; Syn:ชัดเจน ; Samp:ผมลุกขึ้นเดินเข้าไปหาเขา เพื่อจะดูให้ถนัดตา
  5. พร่า : (V) ; blur ; Related:dazzle ; Syn:มัว, เลือน, สลัว, จาง, พร่าเลือน ; Ant:ชัดเจน ; Def:กระจัดกระจายจนเห็นหรือได้ยินไม่ถนัดชัดเจน ; Samp:ขณะนี้ถนนใหญ่พร่าเลือนด้วยสายฝน
  6. อู้อี้ : (ADV) ; indistinctly ; Ant:ชัดเจน ; Def:เสียงไม่ชัดเจนอย่างเสียงคนจมูกบี้ หรือคนบ่น ; Samp:เขายืนบิดตัวบ่นอะไรอู้อี้อยู่
  7. อู้อี้ : (ADJ) ; indistinct ; Ant:ชัดเจน ; Def:เสียงไม่ชัดเจนอย่างเสียงคนจมูกบี้ หรือคนบ่น ; Samp:วันไหนที่มีรถขายยาเข้ามา เสียงเพลงรำวง และเสียงอู้อี้ของโฆษกจะเรียกเร้าให้คนแทบจะทั้งหมู่บ้านมาชุมนุมกัน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ชัดเจน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ชัดเจน, more than 5 found, display 1-5
  1. ชัดเจน : ว. ถูกต้องแน่นอน.
  2. กระจ่าง : ก. สว่าง, สุกใส, ชัดเจน, แจ่ม.
  3. จะแจ้ง : ว. กระจ่าง, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง.
  4. จะแจ่ม : (กลอน) ว. แจ่ม, ใส, กระจ่าง, ชัดเจน, ไม่มัว.
  5. คม ๒ : น. ส่วนบางมากจนสามารถบาดได้ เช่น คมมีด คมดาบ คมหญ้า. ว. ไม่ทื่อ เช่น มีดคม, บาดได้ เช่น ป่านคม; เฉียบแหลม เช่น ปัญญาคม; ชัดเจน เช่น ภาพคม เส้นคม, โดยปริยายใช้สําหรับตาและปากซึ่งมี ลักษณะอย่างของที่คมอาจบาดหรือแทงใจได้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ชัดเจน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ชัดเจน, more than 5 found, display 1-5
  1. ประจักษ์ : ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, ต่อหน้าต่อตา
  2. กตัตตากรรม : กรรมสักว่าทำ, กรรมที่เป็นกุศลก็ตาม อกุศลก็ตาม สักแต่ว่าทำคือไม่ได้จงใจจะให้เป็นอย่างนั้นโดยตรง หรือมีเจตนาอ่อนไม่ชัดเจน ย่อมให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่น ท่านเปรียบเสมือนคนบ้ายิงลูกศร ย่อมไม่มีความหมายจะให้ถูกใคร ทำไปโดยไม่ตั้งใจชัดเจน ดู กรรม๑๒ - casual act, cumulative or reserve Karma.
  3. ปัญญา : ความรู้ทั่ว, ปรีชาหยั่งรู้เหตุผล, ความรู้ความเข้าใจชัดเจน, ความรู้ความเข้าใจหยั่งแยกได้ในเหตุผล ดีชั่ว คุณโทษ ประโยชน์มิใช่ประโยชน์ เป็นต้น และรู้ที่จะจัดแจง จัดสรร จัดการ, ความรอบรู้ในกองสังขาร มองเห็นตามความเป็นจริง ดู ไตรสิกขา, สิกขา
  4. มังสจักขุ : จักษุคือดวงตา เป็นคุณพิเศษของพรพุทธเจ้า คือ มีพระเนตรที่งามม แจ่มใส ไว และเห็นได้ชัดเจนแม้ในระยะไกล (ข้อ ๑ ในจักษุ ๕)
  5. วิภังค์ : 1.(ในคำว่า “วิภังคแห่งสิกขาบท”) คำจำแนกความแห่งสิกขาบทเพื่ออธิบายแสดงความหมายให้ชัดขึ้น; ท่านใช้เป็นชื่อเรียกคัมภีร์ที่จำแนกความเช่นนั้นในพระวินัยปิฎกว่าคัมภีร์วิภังค์ คือ คัมภีร์จำแนกความสิกขาบทในภิกขุปาฏิโมกข์ เรียกว่ามหาวิภังค์ หรือ ภิกขุวิภังค์ คัมภีร์จำแนกความสิกขาบท ในภิกขุนีปาฏิโมกข์เรียกว่าภิกขุนีวิภังค์ เป็นหมวดต้นแห่งพระวินัยปิฎก 2.ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ แห่งพระอภิธรรมปิฎก ที่อธิบายจำแนกความแห่งหลักธรรมสำคัญเช่น ขันธ์ อายตนะ ธาตุ ปัจจยาการ เป็นต้น ให้ชัดเจนจบไปทีละเรื่องๆ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ชัดเจน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชัดเจน, 4 found, display 1-4
  1. ปจฺจกฺข : ค. ประจักษ์, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, แน่นอน
  2. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  3. ธมฺมยุตฺติกนิกาย : (ปุ.) ธรรมยุติกนิกาย ชื่อ นิกายสงฆ์ไทยฝ่ายเถรวาท ซึ่งเริ่มขึ้นในรัชกาลที่๓ ตั้งเป็นนิกายชัดเจนในรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์. เมื่อนิกายนี้เกิดขึ้น จึงเรียกคณะสงฆ์ไทยดั้งเดิมว่ามหานิกาย.
  4. ปราเภตฺวา : อ. พิจารณาดูแล้ว, พิจารณาเห็นชัด, รู้ชัดเจน (ดุจผ่าหัวใจออกดู) แล้ว

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ชัดเจน, not found

(0.0842 sec)