Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิกขา , then สกขา, สิกขา .

Eng-Thai Lexitron Dict : สิกขา, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : สิกขา, 5 found, display 1-5
  1. สิกขา : (N) ; virtue ; Def:ข้อที่จะต้องปฏิบัติ ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา ซึ่งเรียกว่า ไตรสิกขา ; Samp:การที่จะไปสู่ความดับทุกข์ได้นั้น ประการแรกแต่ละคนต้องใฝ่รู้สิกขาด้วยตนเองก่อน
  2. สิกขา : (N) ; education ; Related:study ; Syn:การศึกษา, การเล่าเรียน ; Def:ข้อที่จะต้องศึกษา
  3. ลาสิกขา : (V) ; leave the Buddhist monkhood ; Syn:ลาสึก, ลาเพศ ; Ant:ลาบวช ; Def:ลาจากเพศสมณะ, ลาสึกจากพระเป็นฆราวาส ; Samp:แพทย์ลงความเห็นว่า ท่านต้องลาสิกขาออกไปรักษาตัวถึงจะหายขาด
  4. ไตรสิกขา : (N) ; three studies, morality, concentration and wisdom ; Related:threefold training ; Syn:สิกขา 3 ; Def:สิกขา 3 คือ ศีล เรียกว่า สีลสิกขา ษมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา ; Samp:ในสมัยแรกเริ่มแห่งพระพุทธศาสนา ภิกษุทั้งหลายตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรม ดำเนินชีวิตอยู่ในไตรสิกขา ไม่มีใครประพฤตินอกรีตผิดไปจากความเป็นภิกษุ
  5. ลาเพศ : (V) ; leave the monkhood ; Syn:ลาสึก, ลาสิกขา ; Ant:ลาบวช ; Def:ลาจากเพศบรรพชิต ; Samp:สามเณรตัดสินใจลาเพศบรรพชิตด้วยความรู้สึกเป็นห่วงพี่สาว

Royal Institute Thai-Thai Dict : สิกขา, 3 found, display 1-3
  1. ลาสิกขา : ก. ลาสึก, ลาจากเพศสมณะ.
  2. ครอง : [คฺรอง] ก. ปกครองรักษาโดยความเป็นใหญ่ เช่น ครองเมือง; ดํารงไว้, รักษาไว้, เช่น ครองสิกขา ครองชีพ ครองตัว; นุ่งห่ม (ใช้แก่นักบวช) เช่น ครองจีวร ครองผ้า; ถือสิทธิเป็นเจ้าของ เช่น เอาไปครองเสียหลายวัน. ครองราชสมบัติ ก. เสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์.
  3. ปาติโมกข์ : น. คัมภีร์ว่าด้วยวินัยของสงฆ์ ๒๒๗ ข้อ, ชื่อบาลีที่ประมวล พุทธบัญญัติอันทรงตั้งขึ้นเป็นพุทธอาณา ได้แก่ อาทิพรหม จริยกาสิกขา มีพระพุทธานุญาตให้สวดในที่ประชุมสงฆ์ทุกวัน อุโบสถ. (ป.).

Budhism Thai-Thai Dict : สิกขา, more than 5 found, display 1-5
  1. สิกขา : การศึกษา, การสำเหนียก, ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรม มี ๓ อย่างคือ ๑.อธิสีลสิกขา ฝึกอบรมในเรื่องศีล ๒.อธิจิตตสิกขา ฝึกอบรมในเรื่องจิต เรียกง่าย ๆ ว่า สมาธิ ๓.อธิปัญญาสิกขา ฝึกอบรมในเรื่องปัญญา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา
  2. สิกขาสมมติ : ความตกลงยินยอมของภิกษุณีสงฆ์ที่จะให้สามเณรีผู้มีอายุ ๑๘ ปีเต็มแล้ว เริ่มรักษาสิกขาบท ๖ ประการ ตลอดเวลา ๒ ปี ก่อนที่จะได้อุปสมบท, เมื่อภิกษุณีสงฆ์ให้สิกขาสมมติแล้ว สามเณรีนั้นได้ชื่อว่าเป็น สิกขมานา
  3. ปัญญาสิกขา : สิกขา คือ ปัญญา, ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมปัญญา เพื่อให้เกิดความรู้เข้าใจเหตุผล รอบรู้สิ่งที่เป็นประโยชน์ และไม่เป็นประโยชน์ตลอดจนรู้แจ้งสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ที่ถูกต้องเขียน อธิปัญญาสิกขา
  4. สิกขาคารวตา : ดู คารวะ
  5. สิกขานุตตริยะ : การศึกษาอันเยี่ยม ได้แก การฝึกอบรมในอธิศีล อธิจิตต์ และอธิปัญญา (ข้อ ๔ ในอนุตตริยะ ๖)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สิกขา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิกขา, 8 found, display 1-8
  1. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  2. นาสน : (นปุ.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
  3. นาสนา : (อิต.) การให้ตาย, ฯลฯ, การฆ่า, การฟัน, การฆ่าฟัน, นาสนะ ชื่อการลงโทษภิกษุ ผู้ทำผิดให้ ลาสิกขา ให้สละสมณเพศ. นสฺ ธาตุ เณ เหตุปัจ. และ ยุ ปัจ.
  4. อธิจิตฺตสิกฺขา : (อิต.) ปฏิทาอัน..พึงศึกษา คือจิตยิ่ง, ข้อที่ควรศึกษาคือจิตยิ่ง, อธิกจิตตสิกขาชื่อหลักการศึกษาทางพุทธศาสนา หลักที่ ๒ใน ๓ หลัก.
  5. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  6. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  7. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  8. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สิกขา, 1 found, display 1-1
  1. สึก, ลาสิกขา : อุปพฺพชติ, วิพฺภมติ, หีนาย อาวตฺตติ, อุปฺปพฺพชิตฺวา, วิพฺภมิตฺวา

(0.1285 sec)