Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซ้ำ , then ซำ, ซ้ำ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ซ้ำ, more than 7 found, display 1-7
  1. iterative : (ADJ) ; ซ้ำ ; Related:ย้ำ ; Syn:repetitious
  2. do over : (IDM) ; ทำซ้ำ ; Related:ซ้ำ
  3. go over 2 : (PHRV) ; สอนหรือฝึกทำ(บางสิ่ง)ซ้ำ
  4. repeat : (VT) ; เกิดซ้ำ ; Related:ซ้ำ, ทำซ้ำ ; Syn:replay, reproduce
  5. over and over : (ADV) ; ซ้ำแล้วซ้ำอีก ; Related:หลายครั้งหลายหน ; Syn:frequently, again
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : ซ้ำ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ซ้ำ, more than 7 found, display 1-7
  1. ซ้ำ : (ADV) ; repeatedly ; Syn:ย้ำ ; Def:มีหรือทำอย่างเดียวกันอีกครั้งหนึ่งหรือหลายๆ ครั้ง ; Samp:เขาพูดซ้ำอีก เพราะหล่อนมัวแต่ตกตะลึง
  2. ซ้ำแล้วซ้ำอีก : (ADV) ; again and again ; Syn:ซ้ำแล้วซ้ำเล่า ; Samp:เมื่อรัฐจะกำหนดนโยบายเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ รัฐจะต้องเข้าใจประวัติศาสตร์ ภูมิหลังของบริเวณนี้อย่างชัดเจน มิฉะนั้นนโยบายที่กำหนดอาจผิดพลาดซ้ำแล้วซ้ำอีก
  3. ซ้ำแล้วซ้ำเล่า : (ADV) ; repeatedly ; Syn:ครั้งแล้วครั้งเล่า, บ่อยๆ, ซ้ำไปซ้ำมา, เป็นประจำ ; Samp:เขาแวะเวียนไปบอกกล่าวซ้ำแล้วซ้ำเล่า เป็นทำนองว่าจะขอจัดอย่างพิเศษ
  4. ซ้ำชั้น : (ADV) ; repeatedly in class ; Related:repeatedly (study) ; Samp:หากย้ายโรงเรียนช่วงนี้ เด็กต้องไปเรียนซ้ำชั้นอีกปีหนึ่ง
  5. ซ้ำซ้อน : (V) ; duplicate ; Related:be alike, copy, double ; Def:เหมือนเดิม, เหมือนสิ่งที่มีอยู่แล้ว หรือมีอยู่เดิม ; Samp:งานที่เขาทำไปซ้ำซ้อนกับงานของแผนกอื่น
  6. ซ้ำเติม : (V) ; aggravate ; Related:worsen, intensify ; Syn:ทับถม ; Def:ทำให้สถานการณ์แย่ลง, เพิ่มให้มากขึ้น ; Samp:คนบางกลุ่มมักละโมบ ฉกฉวยโอกาส และซ้ำเติมคนเคราะห์ร้าย
  7. ซ้ำไปซ้ำมา : (ADV) ; repeatedly ; Related:over and over, frequently, many times, often, again and again ; Syn:จำเจ, พร่ำเพรื่อ, ซ้ำซาก, ซ้ำๆ ซากๆ ; Def:ทำแล้วทำอีกอย่างเดียวกันร่ำไป ; Samp:การส่งโปรแกรมผ่านโมเด็มจะต้องกระทำซ้ำไปซ้ำมาถึงสามหรือสี่ครั้งเป็นอย่างน้อย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ซ้ำ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ซ้ำ, more than 5 found, display 1-5
  1. ซ้ำ : ว. มีหรือทําอย่างเดียวกันอีกครั้งหนึ่งหรือหลาย ๆ ครั้ง เช่น พูดซํ้า ตีซํ้า.
  2. ซ้ำซ้อน : น. งานที่ควรทําในหน่วยงานเดียว แต่กลับทําในหลาย หน่วยงาน เข้าลักษณะงานซ้อนงาน เรียกว่า งานซํ้าซ้อน.
  3. ซ้ำเติม : ก. เพิ่มเติมให้หนักหรือให้มากขึ้น.
  4. ซ้ำร้าย : ว. ร้ายขึ้นไปอีก.
  5. ฉายซ้ำ : (ปาก) ก. กระทำซ้ำ ๆ เช่น เขามักฉายซ้ำเรื่องเก่า ๆ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ซ้ำ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ซ้ำ, 8 found, display 1-8
  1. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  2. ต่อหนังสือค่ำ : วิธีที่ใช้สอนให้จำ ในยุคที่ยังไม่ได้ใช้หนังสือ โดยอาจารย์สอนให้ว่าทีละคำหรือทีละวรรค ศิษย์ก็ว่าตามว่าซ้ำหลายๆ ครั้งเพื่อให้จำได้ เมื่อศิษย์จำได้แล้ว อาจารย์ก็สอนต่อไปทุกๆ วัน วันละมากหรือน้อยแล้วแต่ความสามารถของศิษย์ นี่เรียกว่า ต่อหนังสือ และมักต่อในเวลาค่ำ จึงเรียกว่าต่อหนังสือค่ำ
  3. ทัฬหีกรรม : การทำให้มั่น เช่น การให้อุปสมบทซ้ำ
  4. เยวาปนกธรรม : “ก็หรือว่าธรรมแม้อื่นใด” หมายถึงธรรมจำพวกที่กำหนดแน่ไม่ได้ว่าข้อไหนจะเกิดขึ้น ได้แก่ เจตสิก ๑๖ เป็นพวกที่เกิดในกุศลจิต ๙ คือ ๑.ฉันทะ ๒.อธิโมกข์ ๓.มนสิการ ๔.อุเบกขา (ตัตรมัชฌัตตตา) ๕.กรุณา ๖.มุทิตา ๗.สัมมาวาจา (วจีทุจริตวิรัติ) ๘.สมมากันมันตะ (กายทุจริตวิรัติ) ๙.สัมมาอาชีวะ (มิจฉาชีววิรัติ) เป็นพวกที่เกิดในอกุศลจิต ๑๐ คือ ๑.ฉันทะ ๒.อธิโมกข์ ๓.มนสิการ ๔.มานะ ๕.อิสสา ๖.มัจฉริยะ ๗.ถีนะ ๘.มิทธะ ๙.อุทธัจจะ ๑๐.กุกกุจจะ นับเฉพาะที่ไม่ซ้ำ (คือเว้น ๓ ข้อแรก) เป็น ๑๖
  5. สงสารวัฏฏ์ : วังวนแห่งสงสาร คือ ท่องเที่ยวเวียนว่ายตายเกิดอยู่ซ้ำแล้วซ้ำเล่า
  6. โสภณเจตสิก : เจตสิกฝ่ายดีงาม มี ๒๕ แบ่งเป็น ก.โสภณสาธารณเจตสิก (เจตสิกที่เกิดทั่วไปกับจิตดีงามทุกดวง) ๑๙ คือ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา (ความเป็นกลางในอารมณ์นั้น ๆ = อุเบกขา) กายปัสสัทธิ (ความคลายสงบแห่งกองเจตสิก) จิตตปัสสัทธิ (แห่งจิต) กายลหุตา (ความเบาแห่งกองเจตสิก) จิตตลหุตา (แห่งจิต) กายมุทุตา (ความนุ่มนวลแห่งกองเจตสิก) จิตตมุทุตา (แห่งจิต) กายกัมมัญญตา (ความควรแก่งานแห่งกองเจตสิก) จิตตกัมมัญญตา (แห่งจิต) กายปาคุญญตา (ความคล่องแคล่วแห่งกองเจตสิก) จิตตปาคุญญตา (แห่งจิต) กายชุกตา (ความซื่อตรงแห่งกองเจตสิก) จิตตุชุกตา (แห่งจิต) ข.วีรตีเจตสิก (เจตสิกที่เป็นตัวงดเว้น) ๓ คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ ค.อัปปมัญญาเจตสิก (เจตสิกคืออัปปมัญญา) ๒ คือ กรุณา มุทิตา (อีก ๒ ซ้ำกับอโทสะและตัตรมัชฌัตตตา) ง.ปัญญินทรียเจตสิก ๑ คือ ปัญญินทรีย์ หรือ อโมหะ
  7. องค์ฌาน : (บาลี ว่า ฌานงฺค) องค์ประกอบของฌาน, องค์ธรรมทั้งหลายที่ประกอบกันเข้าเป็นฌานขั้นหนึ่งๆ เช่น ปีติ สุข เอกัคคตา รวมกันเรียกว่า ฌานที่ ๒ หรือทุติยฌาน; องค์ฌานทั้งหมดในฌานต่างๆ นับแยกเป็นหน่วยๆ ไม่ซ้ำกัน มีทั้งหมด ๖ อย่าง คือ วิตก ความตรึก วิจาร ความตรอง ปีติ ความอิ่มใจ สุข ความสุข อุเบกขา ความมีจิตเรียบสมดุลเป็นกลาง และ เอกัคคตา ความมีอารมณ์หนึ่งเดียว ดู ฌาน
  8. อุปัตถัมภกกรรม : กรรมสนับสนุน ได้แก่ กรรมทั้งที่เป็นกุศลและอกุศลที่เข้าช่วยสนับสนุนซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม เหมือนแม่นมเลี้ยงทารกที่เกิดจากผู้อื่น ถ้ากรรมดีก็สนับสนุนให้ดีขึ้น ถ้ากรรมชั่วก็ซ้ำเติมให้เลวลงไปอีกไปอีก (ข้อ ๖ ในกรรม ๑๒)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซ้ำ, 7 found, display 1-7
  1. ปุน : อ. อีก, ซ้ำ, แตกต่าง
  2. นิคม : (ปุ.) ย่านการค้า, หนทางพ่อค้า, ตลาด, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใหญ่, ตำบล, บาง, นคร, เวท, คำซ้ำ, คำกล่าวซ้ำ. ส. นิคม.
  3. นิคมน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวซ้ำ, คำกล่าว ซ้ำ, การกล่าวตะล่อม, การตะล่อมความ, การออกไป. ส. นิคมน.
  4. ปุนวจน : นป. การกล่าวซ้ำอีก, การทบทวน
  5. อนุภาสติ : ก. ว่าตาม, กล่าวตาม, กล่าวซ้ำ
  6. อนุวาเจติ : ก. กล่าวตาม, ว่าตาม, กล่าวซ้ำ
  7. อพฺภาส : (ปุ.) การทวนซ้ำ, การซ้อนกัน, การซ้ำกัน, คำซ้ำ, คำซ้อนอัพภาสคือซ้ำหรือซ้อนอักษรลงหน้าคำ.ส.อพฺยาส.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ซ้ำ, 1 found, display 1-1
  1. กล่าวตาม, กล่าวซ้ำ : อนุภาสติ, อนุวาเจติ

(0.1806 sec)