Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซ้ำๆ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ซ้ำๆ, more than 7 found, display 1-7
  1. repeated : (ADJ) ; ซ้ำๆ ; Related:หลายๆ ครั้ง ; Syn:frequent, repetitious
  2. repetitious : (ADJ) ; ซ้ำๆ ซากๆ ; Related:จำเจ
  3. over and over again : (IDM) ; ซ้ำแล้วซ้ำอีก ; Related:ซ้ำๆ
  4. tap out : (PHRV) ; เคาะเบาๆ ซ้ำๆ เพื่อส่งข่าวสาร ; Syn:rap out
  5. trite : (ADJ) ; ซ้ำๆซากๆ ; Related:น่าเบื่อหน่าย
  6. beating : (N) ; การตีซ้ำๆ ; Related:การฟาดซ้ำๆ
  7. reiteratively : (ADV) ; อย่างซ้ำๆ ; Related:โดยกล่าวซ้ำๆ
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ซ้ำๆ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ซ้ำๆ, more than 7 found, display 1-7
  1. ซ้ำๆ : (ADV) ; repeatedly ; Related:repeatedly many times, again and again ; Syn:บ่อยๆ, เสมอๆ ; Samp:การคูณ สามารถทำได้ด้วยการบวกซ้ำๆ กัน
  2. ซ้ำๆ ซากๆ : (ADV) ; repeatedly ; Related:over and over, frequently, many times, often ; Syn:จำเจ, พร่ำเพรื่อ, ซ้ำซาก ; Def:ซ้ำหลายครั้งเกินไป ; Samp:งานประกอบรถยนต์เป็นงานที่ต้องทำซ้ำๆ ซากๆ และน่าเบื่อหน่าย
  3. กระหน่ำ : (V) ; pound (repeatedly) ; Related:hammer, thump, (rain) batter, bang, beat ; Syn:ซ้ำๆ, รัว ; Def:ซ้ำๆ ลงอย่างหนัก ; Samp:เมื่อถึงเวลาเพล ลูกศิษย์วัดจะกระหน่ำกลองเพื่อบอกเวลา
  4. ตลอดศก : (ADV) ; always ; Related:all the time ; Syn:ตลอดปีตลอดชาติ, ทั้งปีทั้งชาติ, ทั้งปี, ซ้ำๆ ซากๆ ; Def:ซ้ำๆ ซากๆ ไม่เปลี่ยน ; Samp:เขามาสายตลอดศก
  5. สม่ำเสมอ : (ADV) ; regularly ; Related:always ; Syn:บ่อย, เป็นประจำ, ซ้ำๆ ; Ant:นานๆ ที, ห่าง
  6. จ้ำจี้จ้ำไช : (ADV) ; repeatedly ; Related:again and again ; Syn:ซ้ำๆ ซากๆ ; Samp:ลูกชายของเขาไม่ค่อยเชื่อฟัง ต้องให้พ่อแม่คอยพูดจ้ำจี้จ้ำไชตลอดเวลา
  7. ซ้ำซาก : (ADV) ; repetitiously ; Related:again and again, repeatedly ; Syn:จำเจ, พร่ำเพรื่อ, ซ้ำไปซ้ำมา, ซ้ำๆ ซากๆ ; Def:ทำแล้วทำอีกอย่างเดียวกันร่ำไป ; Samp:หัวหน้าของฉันเป็นคนพูดซ้ำซาก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ซ้ำๆ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ซ้ำๆ, not found

Budhism Thai-Thai Dict : ซ้ำๆ, 3 found, display 1-3
  1. บริกรรมภาวนา : ภาวนาขั้นต้นหรือขั้นตระเตรียม คือ กำหนดใจ โดยเพ่งดูวัตถุ หรือนึกว่าพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ เป็นต้น ซ้ำๆ อยู่ในใจ
  2. บริกรรม : 1.(ในคำว่า “ถ้าผ้ากฐินนั้นมีบริกรรมสำเร็จด้วยดี”) การตระเตรียม, การทำความเรียบร้อยเบื้องต้น เช่น ซัก ย้อม กะ ตัด เย็บ เสร็จแล้ว 2.สถานที่เขาลาดปูน ปูไม้ ขัดเงา หรือชักเงา โบกปูน ทาสี เขียนสี แต่งอย่างอื่น เรียกว่าที่ทำบริกรรม ห้ามภิกษุถ่มนำลาย หรือนั่งพิง 3.การนวดฟั้นประคบ หรือถูตัว 4.การกระทำขั้นต้นในการเจริญสมถกรรมฐาน คือ กำหนดใจโดยเพ่งวัตถุ หรือนึกถึงอารมณ์ที่กำหนดนั้น ว่าซ้ำๆ อยู่ในใจ อย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อทำใจให้สงบ 5.เลือนมาเป็นความหมายในภาษาไทย หมายถึงท่องบ่น, เสกเป่า
  3. ภาวนา : การทำให้มีขึ้นเป็นขึ้น, การทำให้เกิดขึ้น, การเจริญ, การบำเพ็ญ 1.การฝึกอบรม ตามหลักพระพุทธศาสนา มี ๒ อย่าง คือ ๑.สมถภาวนา ฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบ ๒.วิปัสสนาภาวนา ฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริง, อีกนัยหนึ่ง จัดเป็น ๒ เหมือนกันคือ ๑.จิตตภาวนา การฝึกอบรมจิตใจให้เจริญงอกงามด้วยคุณธรรม มีความเข้มแข็งมั่นคง เบิกบาน สงบสุขผ่องใส พร้อมด้วยความเพียร สติ และสมาธิ ๒.ปัญญาภาวนา การฝึกอบรมเจริญปัญญา ให้รู้เท่าทันเข้าใจสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง จนมีจิตใจเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยกิเลสและความทุกข์ 2.การเจริญสมถกรรมฐานเพื่อให้เกิดสมาธิ มี ๓ ขั้น คือ ๑.บริกรรมภาวนา ภาวนาขั้นตระเตรียม คือกำหนดอารมณ์กรรมฐาน ๒.อุปจารภาวนา ภาวนาขั้นจวนเจียน คือเกิดอุปจารสมาธิ ๓.อัปปนาภาวนา ภาวนาขั้นแน่วแน่ คือเกิดอัปปนาสมาธิเข้าถึงฌาน 3.ในภาษาไทย ความหมายเลือนมาเป็น การท่องบ่นหรือว่าซ้ำๆ ให้ขลัง ก็มี

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซ้ำๆ, 3 found, display 1-3
  1. ปุนปฺปุน : อ. บ่อยๆ, ซ้ำๆ ซากๆ, เนืองๆ
  2. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  3. อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ซ้ำๆ, not found

(0.0399 sec)