Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดัดแปลง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ดัดแปลง, more than 7 found, display 1-7
  1. qualify : (VT) ; ดัดแปลง ; Related:แก้ไข ; Syn:modify
  2. gear : (VT) ; ปรับ ; Related:ดัดแปลง
  3. adapt for : (PHRV) ; ดัดแปลงให้เหมาะสมกับ ; Related:ปรับให้เข้ากับ, ดัดแปลงให้เป็น
  4. adapt as : (PHRV) ; ดัดแปลงให้เป็น ; Related:ปรับเปลี่ยนให้เป็น
  5. adapt from : (PHRV) ; ดัดแปลงจาก (มักใช้ในรูป passive voice) ; Related:ปรับจาก, ปรับเปลี่ยนจาก
  6. playact : (VT) ; ดัดแปลงเป็นบทละคร ; Related:ทำเป็นบทละคร ; Syn:dramatise
  7. play-act : (VT) ; ดัดแปลงเป็นบทละคร ; Related:ทำเป็นบทละคร ; Syn:dramatise
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ดัดแปลง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ดัดแปลง, more than 7 found, display 1-7
  1. ดัดแปลง : (V) ; modify ; Related:alter, adapt ; Syn:แปลง, ปรับเปลี่ยน, เปลี่ยน, แปร, เปลี่ยนแบบ ; Def:เปลี่ยนแปลงให้ต่างไปจากสภาพเดิม ; Samp:พ่อดัดแปลงขวดน้ำเป็นที่ปลูกต้นไม้
  2. ดัดแปลงแก้ไข : (V) ; adapt ; Related:adjust, modify ; Syn:ดัดแปลง ; Def:เปลี่ยนแปลงให้ต่างไปจากสภาพเดิม ; Samp:ชาวญี่ปุ่นได้นำลูกคิดหินของชาวจีนมาดัดแปลงแก้ไขเป็นลูกคิดโดยใช้วัสดุอื่นแทนลูกหินและใช้โลหะแทนเชือก
  3. ซ่อมแปลง : (V) ; modify ; Related:adapt ; Syn:ดัดแปลง ; Def:แก้ไขดัดแปลงของที่ชำรุดให้คืนดี ; Samp:เขาซ่อมแปลงเครื่องยนต์เพื่อนำมาขายต่อ
  4. พลิกแพลง : (V) ; modify ; Related:wield, apply, change, utilize ; Syn:ดัดแปลง, เปลี่ยนแปลง, ปรับ ; Samp:ถ้ารู้ภาษาไทยจะต้องรู้จักคำและไวยากรณ์ดีพอที่จะพลิกแพลงแต่งให้เข้ากับข้อบังคับทางฉันทลักษณ์ให้ได้ความหมายบริบูรณ์และเสียงไพเราะ
  5. ยักเยื้อง : (V) ; change ; Related:alter, modify, adapt ; Syn:ดัดแปลง, เปลี่ยนแปลง ; Samp:กฎเกณฑ์ของภาษามีหลักอธิบายได้ เมื่อยักเยื้องใช้ภาษาในลีลาเฉพาะตัวภาษาที่มีมานานย่อมมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไป
  6. ยักเยื้อง : (V) ; change ; Related:alter, modify, adapt ; Syn:ดัดแปลง, เปลี่ยนแปลง ; Samp:กฎเกณฑ์ของภาษามีหลักอธิบายได้ เมื่อยักเยื้องใช้ภาษาในลีลาเฉพาะตัวภาษาที่มีมานานย่อมมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงไป
  7. แก้ไข : (V) ; amend ; Related:revise, improve, edit, rectify, correct, alter ; Syn:แก้, ดัดแปลง, ปรับปรุง ; Def:ทำส่วนเสียให้ดีขึ้น ; Samp:มีข่าวว่าอังกฤษและจีนจะแก้ไขสนธิสัญญาการเช่าเกาะฮ่องกง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ดัดแปลง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ดัดแปลง, more than 5 found, display 1-5
  1. ดัดแปลง : [-แปฺลง] ก. แก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม, เปลี่ยนจากรูปเดิม โดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย, เช่น ดัดแปลงเรือนชั้นเดียวให้เป็น ๒ ชั้น; (กฎ) เปลี่ยนแปลงต่อเติม เพิ่ม ลด หรือขยายซึ่งลักษณะขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วนนํ้าหนัก เนื้อที่ ของโครงสร้างของอาคารหรือส่วนต่าง ๆ ของอาคาร ซึ่งได้ก่อสร้างไว้แล้วให้ผิดไปจากเดิม และมิใช่การซ่อมแซม หรือการดัดแปลงที่กําหนดในกฎกระทรวง; ทําซํ้าโดยเปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุงแก้ไข เพิ่มเติม หรือจําลองงานต้นฉบับในส่วนอันเป็นสาระสําคัญ โดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทํางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน.
  2. พลิกแพลง : [แพฺลง] ว. ยักเยื้องถ่ายเทเป็นอย่างอื่น ๆ, ที่เปลี่ยนแปลง ให้ผิดไปจากแบบปรกติธรรมดา, เช่น พูดพลิกแพลง ทำพลิกแพลง เล่นพลิกแพลง เตะตะกร้อท่าพลิกแพลง. ก. กลับกลาย, เปลี่ยนแปลง, เช่น วิธีการพลิกแพลง; ดัดแปลง, ยักย้ายถ่ายเท, เช่น ช่างพลิกแพลง.
  3. เยื้องยัก : ก. เลี่ยงไป, ไม่ตรงไปตรงมา, ดัดแปลง, ยักเยื้อง ก็ว่า.
  4. แปลง ๒ : [แปฺลง] ก. เปลี่ยนสิ่งเดิมให้ผิดแปลกออกไป, เปลี่ยนรูปทั้งหมด ให้กลายเป็นอีกรูปหนึ่ง เช่น ยักษ์แปลงเป็นมนุษย์, จําแลง ก็ว่า, เปลี่ยนจากรูปเดิมแต่บางส่วน เช่น คนดีแปลงเป็นคนง่อย, เปลี่ยน จากรูปเดิมโดยแก้ไขเปลี่ยนแปลงบ้างเล็กน้อย เช่น เรือนชั้นเดียว แปลงให้เป็น ๒ ชั้น, ดัดแปลง ก็ว่า; ทํา เช่น แปลงขวัญ.
  5. ยักเยื้อง : ว. เลี่ยงไป, ไม่ตรงไปตรงมา, เช่น ถามเรื่องหนึ่ง แต่พูดยักเยื้อง ไปตอบอีกเรื่องหนึ่ง, ดัดแปลง เช่น ทํายักเยื้อง, เยื้องยัก ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ดัดแปลง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ดัดแปลง, 1 found, display 1-1
  1. อุปาทายรูป : รูปอาศัย, รูปที่เกิดสืบเนื่องจากมหาภูตรูป, อาการของมหาภูตรูป ตามหลักฝ่ายอภิธรรมว่า มี ๒๔ คือ ก) ประสาท หรือ ปสาทรูป ๕ ได้แก่ จักขุ ตา, โสต หู, ฆาน จมูก, ชิวหา ลิ้น, กาย, มโน ใจ, ข) โคจรรูป หรือ วิสัยรูป (รูปที่เป็นอารมณ์) ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (โผฏฐัพพะ ไม่นับเข้าจำนวน เพราะตรงกับปฐวี เตโช วาโย ซึ่งเป็นมหาภูตรูป) ค) ภาวรูป ๒ ได้แก่ อิตถีภาวะ ความเป็นหญิง และปุริสภาวะ ความเป็นชาย ง) หทัยรูป ๑ คือ หทัยวัตถุ หัวใจ จ) ชีวิตรูป ๑ คือ ชีวิตินทรีย์ ภาวะที่รักษารูปให้เป็นอยู่ ฉ) อาหารรูป ๑ คือกวฬิงการาหาร อาหารที่กินเกิดเป็นโอชา ช) ปริจเฉทรูป ๑ คือ อากาศธาตุ ช่องว่าง ญ) วิญญัติรูป ๒ คือ กายวิญญัติ ไหวกายให้รู้ความ วจีวิญญัติ ไหววาจาให้รู้ความ คือพูดได้ ฎ) วิการรูป ๕ อาการดัดแปลงต่างๆ ได้แก่ ลหุตา ความเบา, มุทุตา ความอ่อน, กัมมัญญตา ความควรแก่งาน, (อีก ๒ คือ วิญญัติรูป ๒ นั่นเอง ไม่นับอีก) ฏ) ลักขณรูป ๔ ได้แก่ อุปจยะ ความเติบขึ้นได้, สันตติ สืบต่อได้, ชรตา ทรุดโทรมได้, อนิจจตา ความสลายไม่ยั่งยืน (นับโคจรรูปเพียง ๔ วิการรูป เพียง ๓ จึงได้ ๒๔); ดู มหาภูต ด้วย

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดัดแปลง, not found

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ดัดแปลง, not found

(0.0407 sec)