Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดึง , then ดง, ดึง, ตึง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ดึง, more than 7 found, display 1-7
  1. draw in : (PHRV) ; ดึง ; Related:ลาก ; Syn:haul in, pull in
  2. pluck at : (PHRV) ; ดึง ; Related:ดีด, ถอน ; Syn:pull at, pull on
  3. pull : (VI) ; ดึง ; Related:กระชาก ; Syn:drag, draw, tug
  4. pull : (VT) ; ดึง ; Related:กระชาก ; Syn:drag, draw, tug
  5. pull by : (PHRV) ; ดึง ; Related:จับ ; Syn:take by
  6. pull under : (PHRV) ; ดึง (บางคน / บางสิ่ง) ไปข้างใต้
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ดึง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ดึง, more than 7 found, display 1-7
  1. ดึง : (V) ; retrieve ; Related:pull ; Syn:เอากลับคืน, กู้ ; Samp:ผู้ที่สนใจค้นคว้าข้อมูลของห้องสมุดสามารถดึงข้อมูลจากเครือข่ายห้องสมุดได้
  2. ดึง : (V) ; pull ; Related:haul, draw, drag, tug ; Syn:ลาก, ชัก, เหนี่ยว, ฉุด, รั้ง, ยื้อยุด, ยุด ; Ant:ผลัก ; Samp:การชักคะเย่อคือการช่วยกันออกแรงดึงเชือก
  3. ลาก : (V) ; drag ; Related:tow, trail, draw, haul, tug, pull ; Syn:ดึง ; Def:ดึงให้เคลื่อนไปกับพื้น ; Samp:ชาวนาขี่รถจักรยานหรือรถจักรยานยนต์ ลากกระบะบรรทุกผู้โดยสารระหว่างหมู่บ้าน
  4. สาว 2 : (V) ; pull ; Related:draw, drag, haul, tug, tow ; Syn:ดึง ; Def:ชักหรือดึงสิ่งที่เป็นเส้นยาวๆ ออกจากที่เข้าหาตัวเป็นระยะๆ ต่อเนื่องกันไป ; Samp:พวกเราช่วยกันสาวเชือกเพื่อให้เรือเข้าฝั่งเร็วๆ
  5. ถอน 1 : (V) ; pull out ; Related:pull up, draw, take sth out, extract, root out ; Syn:ดึง, ทึ้ง ; Def:ดึงขึ้นจากใต้พื้นหรือใต้ผิว ; Samp:เมื่อหมอออกมาเรียกพี่สาวเธอเข้าไปถอนฟัน เธอได้ยินเสียงร้องครวญครางซึ่งทำให้เธอกลัวมาก
  6. ทึ้ง : (V) ; pull ; Related:pluck forcibly ; Syn:ดึง, กระชาก ; Def:พยายามดึงของเหนียวหรือสิ่งที่ติดอยู่แน่นครั้งแล้วครั้งเล่า
  7. Thai-Eng Lexitron Dict : ดึง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ดึง, more than 5 found, display 1-5
  1. ดึง : ก. เหนี่ยวมา, ฉุดมา, รั้งมา; ดีด เช่น ดึงพิณ ว่า ดีดพิณ.
  2. ดิง, ดึง : ก. ดีดทําเสียงดิง ๆ เช่น ดีดพิณ ใช้ว่า ดิงพิณ หรือ ดึงพิณ. (ไทยใหญ่ ดิง ว่า พิณ).
  3. ดึงดื้อ : ว. ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล ดึงไม่ไป, ดื้อดึง ก็ว่า.
  4. ชัก ๑ : ก. ดึงสายเชือกเป็นต้นที่ผูกอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้สิ่งนั้น เคลื่อนไหวไปตามต้องการ เช่น ชักว่าว ชักรอก; ดึง, ดึงออกมา, ดึงขึ้น, เช่น ชักดาบออกจากฝัก ชักลิ้นชักโต๊ะ; ดึงเอามา เช่น ชักผ้าป่า ชักผ้าบังสุกุล; ดึงออกแล้วดันเข้า เช่น ชักสูบ ชักเข้า ชักออก; นํา เช่น ชักนํ้าเข้าลึกชักศึกเข้าบ้าน; นําเอามาอ้าง, ยกเอามาอ้าง, เช่น ชักตัวอย่าง; เอาออก, หักออก, เช่น ชัก ค่าอาหาร ชักค่านายหน้า; ขยายแนวให้ยืดออก เช่น ชักปีกกา ชักกําแพง; สี เช่น ชักซอ; กระตุก เช่น ชักจ้องหน่อง. ว. ค่อนข้าง, เกือบ, เริ่ม, เช่น ชักโกรธ ชักหิว.
  5. ดื้อดึง : ว. ดื้อไม่ยอมฟังเหตุผล ดึงไม่ไป, ดึงดื้อ ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ดึง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ดึง, 9 found, display 1-9
  1. ทวัตติงสาการ : อาการ ๓๒, ส่วนประกอบที่มีลักษณะต่างๆ กัน ๓๒ อย่าง ในร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า (อุจจาระ) มันสมอง ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร (ปัสสาวะ); ในขุททกปาฐะ (ฉบับสยามรัฐ) เรียงลำดับมันสมองไว้เป็นข้อสุดท้าย; ทวัตดึงสาการ หรือ ทวดึงสาการ ก็เขียน
  2. ทิฏฐิ : ความเห็น, ทฤษฎี; ความเห็นผิดมี ๒ คือ ๑.สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง ๒.อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ; อีกหมวดหนึ่ง มี ๓ คือ ๑.อกิริยทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่เป็นอันทำ ๒.อเหตุกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มีเหตุ ๓.นัตถิกทิฏฐิ ความเห็นว่าไม่มี คือถืออะไรเป็นหลักไม่ได้ เช่น มารดาบิดาไม่มีเป็นต้น; ในภาษาไทยมักหมายถึงการดื้อดึงในความเห็น (พจนานุกรมเขียน ทิฐิ)
  3. ทิฏฐิมานะ : ทิฏฐิ แปลว่า ความเห็น ในที่นี้หมายถึงความเห็นดื้อดึง ถึงผิดก็ไม่ยอมแก้ไข มานะ ความถือตัว รวม ๒ คำ เป็นทิฏฐิมานะ หมายถึงถือรั้น อวดดี หรือดึงดื้อถือตัว
  4. กบิลดาบส : ดาบสที่อยู่ในดงไม้สักกะ ประเทศหิมพานต์ พระราชบุตรและพระราชบุตรีของพระเจ้าโอกกากราชพากันไปสร้างพระนครใหม่ในที่อยู่ของกบิลดาบส จึงขนานนามพระนครที่สร้างใหม่ว่า กบิลพัสดุ์ แปลว่า ที่หรือที่ดินของกบิลดาบส
  5. นาคเสน : พระอรหันตเถระผู้โต้วาทะชนะพระยามิลินท์ กษัตริย์แห่งสาคลประเทศ ดงมีคำโต้ตอบปัญหามาในคัมภีร์มิลินทปัญหา ท่านเกิดหลังพุทธกาลประมาณ ๔๐๐ ปี ที่หมู่บ้านกชังคละในหิมวันตประเทศ เป็นบุตรของพราหมณ์ชื่อโสณุตตระ ท่านเป็นผู้ชำนาญในพระเวทและต่อมาได้อุปสมบท โดยมีพระโรหะเป็นพระอุปัชฌาย์; ดู มิลินท์, มิลินทปัญหา
  6. มัชฌิมาปฏิปทา : ทางสายกลาง, ข้อปฏิบัติเป็นกลางๆ ไม่หย่อนจนเกินไป และไม่ตึงจนเกินไป ไม่ข้องแวะที่สุด ๒ อย่างคือ กามสุขัลลิกานุโยค และ อัตตกิลมถานุโยค, ทางแห่งปัญญา (เริ่มด้วยปัญญา, ดำเนินด้วยปัญญา นำไปสู่ปัญญา) อันพอดีที่จะให้ถึงจุดหมาย คือ ความดับกิเลสและความทุกข์ หรือความหลุดพ้นเป็นอิสระสิ้นเชิง ได้แก่มรรคมีองค์ ๘ มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น สัมมาสมาธิเป็นที่สุด
  7. วาโยธาตุ : ธาตุลม คือธาตุที่มีลักษณะพัดไปมา, ภาวะสั่นไหว เคร่งตึง ค้ำจุน; ในร่างกายนี้ ส่วนที่ใช้กำหนดเป็นอารมณ์กรรมฐาน ได้แก่ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในไส้ ลมพัดไปตามตัว ลมหายใจ (ตามสภาวะ วาโยธาตุ คือ สภาพสั่นไหว หรือค้ำจุน) ดู ธาตุ
  8. สักกะ : ๑.พระนามจอมเทพ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เรียกกันว่า ท้าวสักกะหรือพระอินทร์; ดู วัตรบท๗ ๒.ชื่อดงไม้ที่อยู่ในชมพูทวีปตอนเหนือ แถบเขาหิมาลัยในเขตป่าหิมพานต์ ๓.ชื่อชนบทที่ตั้งอยู่ในดงไม้สักกะ ดู สักกชนบท
  9. อวินิพโภครูป : “รูปที่แยกออกจากกันไม่ได้”, รูปที่มีอยู่ด้วยกันเป็นประจำเสมอไป อย่างขาดมิได้เลยในสิ่งที่เป็นรูปทุกอย่าง กล่าวคือในสิ่งที่เป็นรูปทุกอย่าง แม้แต่ปรมาณูที่เล็กที่สุดก็จะต้องมีรูปธรรมชุดนี้อยู่เป็นอย่างน้อย, คุณสมบัติพื้นฐานที่มีอยู่เป็นประจำในวัตถุ, มี ๘ อย่าง คือ ปฐวี (ภาวะแผ่ขยายหรือรองรับ) อาโป (ภาวะเอิบอาบเกาะกุม) เตโช (ภาวะร้อน) วาโย (ภาวะเคลื่อนไหวเคร่งตึง) วัณณะ (สี) คันธะ (กลิ่น) รสะ (รส) โอชา (อาหารรูป); ใน ๘ อย่างนี้ ๔ อย่างแรกเป็นมหาภูตรูป หรือธาต ๔, ๔ อย่างหลังเป็นอุปาทายรูป

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดึง, more than 5 found, display 1-5
  1. กสฺสติ : ก. คร่า, ฉุด, ลาก, ดึง
  2. นิกฺกฑฺฒติ : ก. ฉุด, คร่า, ลาก, ดึง, ไล่หนี, ขับไล่
  3. อนฺวกาสิ : ก. ลาก, ดึง, ฉุด
  4. อากฑฺฒติ : ก. ฉุด, คร่า, ดึง, ลาก
  5. อากสฺสติ : ก. ฉุด, คร่า, ดึง, รั้ง, ลาก
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ดึง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ดึง, 7 found, display 1-7
  1. กระจายออก, คลี่, ดึง : อภิปฺปสาเรติ [ก.]
  2. กวน, ชัก, ดึง, แกว่ง : อาวิญฺชติ [ก.]
  3. ชักมา, ดึง, ฉุด : อากณฺฑิตฺวา
  4. การดึงมา, ลากมา : อติกสฺส [นป.]
  5. ดงไม้ : อฏวี
  6. กลางดง : อฏวีมชฺฌ
  7. แสดงโมกขธรรม : โมกฺขเทสโก

(0.1541 sec)