Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถอน , then ถอน, ถอนา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ถอน, more than 7 found, display 1-7
  1. abstract : (VT) ; ถอน ; Related:ดึง ; Syn:withdraw, separate, remove
  2. pluck : (VT) ; ถอน ; Related:เด็ด, ดึงอย่างแรง ; Syn:pull, yank
  3. draw : (VT) ; ถอนเงิน ; Related:ถอน
  4. get out : (PHRV) ; ถอน (เงิน) ; Syn:draw out, get out of
  5. rip into : (PHRV) ; ถอน/ดึงออกอย่างแรง ; Syn:tear into
  6. weed out : (PHRV) ; ถอน (ต้นไม้ที่ต้องการหรือวัชพืช) ทิ้ง
  7. with- : (PRF) ; ต้าน ; Related:ถอน
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ถอน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ถอน, more than 7 found, display 1-7
  1. ถอน 1 : (V) ; draw ; Related:withdraw ; Syn:เอาคืน, ขอคืน, เรียกคืน ; Def:เบิกเงินที่ฝากไว้ในธนาคารออกมา ; Samp:ลูกค้าถอนเงินจากธนาคารเพื่อนำเงินมาลงทุนค้าขาย
  2. ถอน 1 : (V) ; break off an engagement ; Related:cancel, repeal, revoke, rescind ; Syn:บอกเลิก, ยกเลิก ; Samp:เธอถอนหมั้นเขาแล้ว
  3. ถอน 1 : (V) ; pull out ; Related:pull up, draw, take sth out, extract, root out ; Syn:ดึง, ทึ้ง ; Def:ดึงขึ้นจากใต้พื้นหรือใต้ผิว ; Samp:เมื่อหมอออกมาเรียกพี่สาวเธอเข้าไปถอนฟัน เธอได้ยินเสียงร้องครวญครางซึ่งทำให้เธอกลัวมาก
  4. ถอน 1 : (V) ; withdraw ; Related:quit, secede from ; Def:เอาตัวออกจากพันธะ ; Samp:พล.อ.ชวลิตยงใจยุทธถอนตัวจากคณะรัฐบาล
  5. ถอน 2 : (V) ; drink ; Related:sip, guzzle, gulp ; Def:ดื่มเหล้าโดยถือว่าแก้เมา ; Samp:รุ่งเช้าผมต้องตื่นขึ้นมาถอน เพื่อให้สร่างเมา
  6. ถอนทหาร : (V) ; withdraw ; Related:take out, remove, extract ; Syn:ถอนกำลัง ; Ant:ตรึงกำลัง ; Def:ถอนกำลังทหาร ; Samp:โซเวียตรับปากจะถอนทหารหน่วยนั้นออกไป
  7. ถอนใจ : (V) ; sigh ; Syn:ถอนหายใจ ; Def:ระบายลมหายใจออกมาโดยแรง เนื่องจากกังวล หรือเบื่อหน่าย ; Samp:ทุกคนต่างถอนใจ และส่ายหน้าด้วยความเอือมระอาต่อระบบ และวิธีการทำงานของหน่วยราชการ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ถอน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ถอน, more than 5 found, display 1-5
  1. ถอน : ก. ฉุดขึ้น, ดึงขึ้น, เช่น ถอนฟัน ถอนเสา ถอนหญ้า; บอกเลิก เช่น ถอนประกัน ถอนฟ้อง ถอนหมั้น; เอาตัวออกจากพันธะ เช่น ถอนตัว; ค่อนข้าง, เกือบ, เริ่ม, เช่น ถอนฉุน.
  2. ถอนคำฟ้อง, ถอนฟ้อง : (กฎ) ก. ยื่นคำร้องหรือคำบอกกล่าวต่อ ศาลแสดงความประสงค์ว่าจะไม่ดำเนินคดีที่ยื่นฟ้องไว้อีกต่อไป ในคดีแพ่งเรียกว่า ถอนคำฟ้องในคดีอาญาเรียกว่า ถอนฟ้อง.
  3. ถอนรากถอนโคน : (สำ) ก. ทำลายให้ถึงต้นตอ, ทำลายให้สิ้น เสี้ยนหนาม, ถอนต้นก่นราก ก็ว่า.
  4. ถอนเงิน : ก. เบิกเงินที่ฝากไว้ในธนาคารออกมา.
  5. ถอนใจใหญ่ : ก. หายใจแรงและยาวในขณะที่รู้สึกกลุ้มอกกลุ้มใจ หรือโล่งอกโล่งใจเป็นต้น, โบราณใช้ว่า ถอยใจใหญ่ ก็มี.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ถอน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ถอน, more than 5 found, display 1-5
  1. ถอน : (ในคำว่า “รู้จักถอนไตรจีวร”) ยกเลิกของเดิม   ออกมาจากศัพท์ ปัจจุทธรณ์
  2. ปัจจุทธรณ์ : ถอนคืน คือถอนคืนผ้าที่อธิษฐานไว้ เช่น อธิษฐานสบงคือ ตั้งใจกำหนดไว้ให้เป็นสบงครอง ภายหลังไม่อยากให้เป็นสบงครอง ภายหลังไม่อยากให้เป็นสบงครอง ก็ถอนคืนสบงนั้น เรียกว่า ปัจจุทธรณ์สบง, ตัวอย่าง ปัจจุทธรณ์สบงว่า “อิมํ อนฺตรวาสกํ ปจฺจุทฺธรามิ” (เปลี่ยน อนฺตรวาสกํ เป็น สงฺฆาฏึ” เป็น อุตฺตราสงฺคํ เป็นต้น สุดแต่ว่าจะถอนอะไร)
  3. นิสสารณา : การไล่ออก, การขับออกจากหมู่ เช่น นาสนะสามเณรผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้าออกไปเสียจากหมู่ (อยู่ในอปโลกนกัมม์) ประกาศถอนธรรมกถึกผู้ไม่แตกฉานในธรรมในอรรถ คัดค้านคดีโดยหาหลักฐานมิได้ ออกเสียจากการระงับอธิกรณ์ (อยู่ในญัตติกัมม์) คู่กับ โอสารณา
  4. วิปัสสนา : ความเห็นแจ้ง คือเห็นตรงต่อความเป็นจริงของสภาวธรรม; ปัญญาที่เห็นไตรลักษณ์อันให้ถอนความหลงผิดรู้ผิดในสังขารเสียได้, การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความเห็นแจ้งรู้ชัดภาวะของสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็นของมันเอง (ข้อ ๒ ในกัมมัฏฐาน ๒ หรือภาวนา ๒) ดู ภาวนา, ไตรลักษณ์
  5. วิโมกข์ : ความหลุดพ้นจากกิเลส มี ๓ ประเภทคือ ๑.สุญญตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยเห็นอนัตตาแล้วถอนความยึดมั่นได้ มองเห็นความว่าง ๒.อนิมิตตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยเห็นอนิจจัง แล้วถอนนิมิตได้ ๓.อัปปณิหิตวิโมกข์ หลุดพ้นด้วยเห็นทุกข์ แล้วถอนความปรารถนาได้
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ถอน, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ถอน, more than 5 found, display 1-5
  1. ขณติ : ก. ขุด, ถอน, ทำลาย
  2. นิกฺขิปติ : ก. วางไว้, เก็บไว้, เลิก, ถอน, บอกคืน
  3. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  4. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  5. ตาลาวตฺถุตก : ค. ต้นตาลที่มีรากขาดแล้ว, ต้นตาลที่ถอนรากแล้ว
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ถอน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ถอน, 1 found, display 1-1
  1. นั่งถอนใจ : นิตฺถุนนฺโต นิสีทิ, ชนฺนุเกหิ วิจรติ

(0.1362 sec)