Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดู , then ดุ, ดู, ตู .

Royal Institute Thai-Thai Dict : ดู, 2665 found, display 1-50
  1. ดู : ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี, ศึกษาเล่าเรียน เช่น ดูหนังสือ, เห็นจะ เช่น ดูจะเกินไปละ, ทํานาย เช่น ดูโชคชะตาราศี, ใช้ประกอบกริยา เพื่อให้รู้ให้เห็นประจักษ์แจ้ง เช่น คิดดูให้ดี ลองกินดู.
  2. ดูร้าย : น. ตาร้าย. (ดู ตาร้าย ที่ ตา๒).
  3. ดูชา : ก. ดูแคลน, ดูถูก, เช่น ตูจะให้สูทั้งหลายฆ่า ว่าผู้ดูชาดูแคลน แหนความ เราจงมิด. (ลอ.)
  4. ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ : (สํา) ก. ให้รู้จักพิจารณาลักษณะบุคคลหรือ ผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครอง, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า.
  5. ดูดำ : (โบ) ก. ดูหมิ่น เช่น เปนม่ายชายดูดำ กุมเกษ กำแก้ผม ผลักล้มจมดิน ทราย แสร้งอวยอายอยดยศ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
  6. ดูดำดูดี : ก. เอาใจใส่ดูแลทั้งในเวลามีทุกข์และมีสุข เช่น จะหวังอะไรให้ เขามาดูดำดูดีกับคนอย่างเรา, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เขาไม่ดูดำดูดี เด็กคนนี้เลย.
  7. ดูตาม้าตาเรือ : (สํา) ก. พิจารณาให้รอบคอบ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ดูตาม้าตาเรือ.
  8. ดูหรือ : อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความแปลกใจ เช่น ดูหรือมาเป็นไปได้.
  9. ดูไปก่อน : ก. รอไว้ก่อน.
  10. ดูหมิ่น ๑ : (กฎ) ก. ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น.
  11. ดูหมิ่น ๒, ดูหมิ่นถิ่นแคลน : ก. แสดงกิริยาท่าทาง พูดจา หรือเขียนเป็นลาย ลักษณ์อักษรเป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะตํ่าต้อย หรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, หมิ่น ก็ว่า.
  12. ดูเหมือน : ว. เข้าใจว่า, คะเนว่า, เห็นจะ.
  13. ดุ : ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือ ไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า มีอันตรายมาก, มีคนเสีย ชีวิตมาก, เช่น นํ้าปีนี้ดุ ที่ตรงนี้ดุ. ว. มีลักษณะทําให้ดูน่ากลัวหรือน่า เกรงขาม เช่น หน้าดุ ตาดุ; ร้าย, ร้ายกาจ, เหี้ยมโหด, เช่น หมาดุ เสือดุ.
  14. ชระเมียน : [ชฺระ] (กลอน) ก. ชม, ดู
  15. พิศดู : [พิดสะดู] ก. พิจารณาดูให้รอบคอบ, พิจารณาดูให้ถี่ถ้วน.
  16. เลี้ยงดู : ก. ดูแล, เอาใจใส่, บํารุง, ปรนปรือด้วยอาหารการกินเป็นต้น, (มักใช้แก่คน) เช่น เลี้ยงดูพ่อแม่.
  17. เลี้ยงดูปูเสื่อ : ก. ต้อนรับเลี้ยงดูด้วยอาหารการกินอย่างดี.
  18. กง ๕ : ดู จงโคร่ง, โจงโคร่ง.
  19. กฐินัตถารกรรม : ดู กฐิน, กฐิน-.
  20. กระเตาะ ๑ : ดู กุ้งดีด, กุ้งดีดขัน ที่ กุ้ง๑.
  21. กระทาหอง : ดู จงโคร่ง, โจงโคร่ง.
  22. กระเล็น : ดู กระถิก, กระถึก.
  23. กระหอง : ดู จงโคร่ง, โจงโคร่ง.
  24. กษีรามพุ : ดู กษีร-, กษีระ.
  25. กษีรารณพ : ดู กษีร-, กษีระ.
  26. กัลปาวสาน : ดู กัลป-, กัลป์.
  27. กามัช : ดู กาม, กาม-.
  28. กามา : ดู กาม, กาม-.
  29. กามาทีนพ : ดู กาม, กาม-.
  30. กามาพจร, กามาวจร : ดู กาม, กาม-.
  31. กามามิศ : ดู กาม, กาม-.
  32. กามารมณ์ : ดู กาม, กาม-.
  33. กามิศ, กาเมศ : ดู กาม, กาม-.
  34. กาโมทย : ดู กาม, กาม-.
  35. กายาพยพ : ดู กาย, กาย-.
  36. กายินทรีย์, กาเยนทรีย์ : ดู กาย, กาย-.
  37. กุฎุมพี : ดู กระฎุมพี.(ป. กุฏุมฺพิก, ส. กุฏุมฺพินฺ).
  38. กูรมาวตาร : ดู กูรม-, กูรมะ.
  39. ไข้กาฬ : ดู ไข้ผื่น. ไข้กาฬนกนางแอ่น, ไข้กาฬหลังแอ่น น. ไข้ติดเชื้อเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง มีอาการไข้ ซึม คอแข็ง หลังแอ่น และมีผื่นชนิดตกเลือดใต้ผิวหนัง ต่อมาสีของ ผื่นจะเปลี่ยนเป็นคลํ้า.(อ. meningococcal meningitis).
  40. คคนัมพร : ดู คคน-, คคนะ.
  41. คคนางค์ : ดู คคน-, คคนะ.
  42. คคนานต์ : ดู คคน-, คคนะ.
  43. คณาจารย์ : ดู คณ-, คณะ.
  44. คณาธิการ : ดู คณ-, คณะ.
  45. คณาธิปไตย : ดู คณ-, คณะ.
  46. คณานุกรม : ดู คณ-, คณะ.
  47. คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ : (สํา) ก. จะพิจารณาคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ให้พิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ.
  48. คมนาการ : ดู คมน-, คมน์.
  49. คมนาคม : ดู คมน-, คมน์.
  50. คมในฝัก ๑ : ดู คมน-, คมน์.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2665

(0.1253 sec)