Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตู่ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ตู่, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ตู่, 7 found, display 1-7
  1. ตู่ : (V) ; claim ownership without justification ; Related:make a false claim for another's possession, assume or feign ownership, acquire possession by force or fraud ; Syn:ทึกทัก ; Def:กล่าวอ้างผิดๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อ้างเอาของผู้อื่นมาเป็นของตน ; Samp:เขาคงไปอ่านของใครแล้วมาตู่เอาว่าเป็นของผม
  2. ทึก : (V) ; presume ; Related:assume, claim, suppose, claim something false, make an arbitrary decision, jump to a conclusion ; Syn:ตู่ ; Def:ตู่เอาเป็นของตัว, ถือเอาเป็นจริงเป็นจัง, เหมาเอาว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้
  3. ตู่พุทธพจน์ : (V) ; refer mistakenly the Buddha's teaching ; Related:to express the Buddha's words incorrectly ; Def:อ้างพุทธพจน์ผิดๆ ถูกๆ
  4. ขี้ตู่ : (V) ; be apt to make false claims ; Related:falsely claim as one's own ; Syn:ขี้ตู่กลางนา ; Def:ชอบทึกทักเอาเป็นของตัว ; Samp:ท่านคงไปฟังมาจากใครหรืออ่านของใคร แล้วมาขี้ตู่เอาว่าเป็นของผม
  5. ตีขลุม : (V) ; assume ; Related:take what one is not entitled to, take some thing as one's own, claim another's wealth, claim falsely ; Syn:ตู่, ทึกทัก, ตีคลุม, ถือเอา, เหมาเอา ; Def:ตู่หรือหยิบฉวยเอาของผู้อื่นโดยทึกทักเอาว่าเป็นของตน, แสดงอาการเป็นเชิงรับสมอ้างเพื่อประโยชน์แก่ตน ; Samp:เนื่องจากคนอ้วนส่วนมากชอบกินของหวาน เขาจึงตีขลุมเอาว่าน้ำตาลทำให้เป็นเบาหวาน ที่จริงแล้วไม่ใช่
  6. ทึกทัก : (V) ; assume ; Related:presume, claim, suppose ; Syn:ตู่, คาดเดา, ตู่เอา, เดา, โมเม ; Def:เหมาเอาว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้
  7. ตู่ตัว : (V) ; mistake ; Related:drop words, misread ; Syn:เพี้ยนตัว ; Def:อ่านหนังสือไม่ตรงตัว เพี้ยนตัว ; Samp:เพราะคงจำกันไม่ได้ว่าใครเป็นใคร จึงตู่ตัวตู่ตนสับสนกันไปหมด

Royal Institute Thai-Thai Dict : ตู่, 1 found, display 1-1
  1. ทึก ๑, ทึกทัก : ก. ตู่เอาเป็นของตัว, ถือเอาเป็นจริงเป็นจัง, เหมาเอาว่าเป็นอย่างนั้น อย่างนี้.

Budhism Thai-Thai Dict : ตู่, 9 found, display 1-9
  1. ตู่ : กล่าวอ้างหรือทึกทักเอาของผู้อื่นว่าเป็นของตัว, กล่าวอ้างผิดตัว ผิดสิ่ง ผิดเรื่อง, ในคำว่า กล่าวตู่พระพุทธเจ้า หรือตู่พุทธพจน์ หมายความว่า อ้างผิดๆ ถูกๆ, กล่าวสิ่งที่ตรัสว่ามิได้ตรัส กล่าวสิ่งที่มิได้ตรัสว่าได้ตรัสไว้, พูดให้เคลื่อนคลาดหรือไขว้เขวไปจากพุทธดำรัส, พูดใส่โทษ, กล่าวข่มขี่, พูดกด เช่น คัดค้านให้เห็นว่า ไม่จริงหรือไม่สำคัญ
  2. ตู่กรรมสิทธิ์ : กล่าวอ้างเอากรรมสิทธิ์ ของผู้อื่นว่าเป็นของตัว
  3. อวหาร : การลัก, อาการที่ถือว่าเป็นการลักทรัพย์ ในอรรถกถาแสดงไว้ ๒๕ อย่าง พึงทราบในที่นี้ ๑๓ อย่าง คือ ๑) ลัก ๒) ชิงหรือวิ่งราว ๓) ลักต้อน ๔) แย่ง ๕) ลักสับ ๖) ตู่ ๗) ฉ้อ ๘) ยักยอก ๙) ตระบัด ๑๐) ปล้น ๑๑) หลอกลวง ๑๒) กดขี่หรือกรรโชก ๑๓) ลักซ่อน
  4. กัณฑกสามเณร : ชื่อสามเณรรูปหนึ่งในครั้งพุทธกาล ผู้กล่าวตู่พระธรรมเป็นต้นเหตุให้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบทที่ ๑๐ แห่งสัปปาณกวรรคในปาจิตติยกัณฑ์ และทรงให้สงฆ์นาสนะเธอเสีย เขียนเป็น กัณฏกะ ก็มี
  5. ทัณฑกรรมนาสนา : ให้ฉิบหายด้วยการลงโทษ หมายถึงการไล่ออกจากสำนัก เช่น ที่ทำแก่กัณฑกสามเณร ผู้กล่าว ตู่พระธรรมเทศนาว่า ธรรมที่ตรัสว่าเป็นอันตราย ไม่สามารถทำอันตราย แก่ผู้เสพได้จริง
  6. นิสสารณา : การไล่ออก, การขับออกจากหมู่ เช่น นาสนะสามเณรผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้าออกไปเสียจากหมู่ (อยู่ในอปโลกนกัมม์) ประกาศถอนธรรมกถึกผู้ไม่แตกฉานในธรรมในอรรถ คัดค้านคดีโดยหาหลักฐานมิได้ ออกเสียจากการระงับอธิกรณ์ (อยู่ในญัตติกัมม์) คู่กับ โอสารณา
  7. สัมโภถนาสนา : ให้ฉิบหายเสียจากการกินร่วม, เป็นศัพท์ผูกใหม่ที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ว่าน่าจะใช้แทนคำว่า ทัณฑกรรมนาสนา (การให้ฉิบหายด้วยทัณฑกรรม คือ ลงโทษสามเณร ผู้กล่าวตู่พระธรรมเทศนาโดยไล่จากสำนัก และไม่ให้ภิกษุทั้งหลายคบด้วย ตามสิกขาบทที่ ๑๐ แห่งสัปปาณกวรรค ปาจิตติยกัณฑ์)
  8. อปโลกนกรรม : กรรมคือการบอกเล่า, กรรมอันทำด้วยการบอกกันในที่ประชุมสงฆ์ ไม่ต้องตั้ง ญัตติ คือคำเผดียงไม่ต้องสวด อนุสาวนา คือประกาศความปรึกษาและตกลงของสงฆ์ เช่น ประกาศลงพรหมทัณฑ์ นาสนะสามเณรผู้กล่าวตู่พระพุทธเจ้า อปโลกน์ แจกอาหารในโรงฉัน เป็นต้น
  9. โอสารณา : การเรียกเข้าหมู่, เป็นชื่อสังฆกรรมจำพวกหนึ่ง มีทั้งที่เป็นอปโลกนกรรม (เช่น การรับสามเณรผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจาซึ่งถูกนาสนะไปแล้วและเธอกลับตัวได้) เป็นญัตติกรรม (เช่น เรียกอุปสัมปทาเปกขะที่สอนซ้อมอันตรายิกธรรมแล้ว เข้าไปในสงฆ์) เป็นญัตติทุติยกรรม (เช่น หงายบาตรแก่คฤหัสถ์ที่กลับตัวประพฤติดี) เป็นญัตติจตุตถกรรม (เช่น ระงับนิคคหกรรมที่ได้ทำแก่ภิกษุ)

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตู่, 7 found, display 1-7
  1. ตุจฺฉภาสน : นป. การกล่าวตู่, การพูดพล่อยๆ
  2. ปจฺจกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, บอกปัด, ไม่ยอมรับ, บอกคืน
  3. ปจฺจกฺขาน : นป. การกล่าวตู่, การบอกปัด, การบอกคืน
  4. อพฺภกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวคัดค้าน
  5. อพฺภกฺขาน : (นปุ.) การกล่าวตู่, การกล่าวครอบงำ, การกล่าวข่มขี่, คำกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวหาความ.อภิ+อกฺขานแปลงอิเป็นยรวมเป็นภฺยแปลงภฺยเป็นพฺภ.หรือแปลงอภิเป็นอพฺภ. อสฺจเจนอกฺขานํอพฺภกฺขานํ.ตุจฺฉภาสนํอพฺภกฺขานํนาม.
  6. อพฺภาจิกฺขติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวใส่ร้าย
  7. อพฺภาจิกฺขน : (นปุ.) การกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวตู่, ฯลฯ.อภิอาบทหน้าจิกฺขฺธาตุในความกล่าวยุปัจ.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ตู่, 3 found, display 1-3
  1. ตู่ (กล่าว) : อพฺภาจิกฺขิ
  2. กล่าวตู่ : อพฺภกฺขานํ, อพฺภกฺขาติ [ก.]
  3. คำกล่าวตู่ : อพฺภกฺขานํ

(0.0305 sec)