Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถือเอา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ถือเอา, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ถือเอา, 5 found, display 1-5
  1. ถือเอา : (V) ; assume ; Def:นับเอาว่า, ยึดเอาว่า ; Samp:เราจะถือเอาข้อมูลของการ์ดหนึ่งแผ่นเป็นหนึ่งเรคคอร์ด
  2. นับ : (V) ; count as ; Related:regard as, adopt as, accept ; Syn:ถือเอา ; Samp:สุเทพไม่นับว่าสุชาติเป็นญาติเพราะเขาทำตัวไม่ดี
  3. ตีขลุม : (V) ; assume ; Related:take what one is not entitled to, take some thing as one's own, claim another's wealth, claim falsely ; Syn:ตู่, ทึกทัก, ตีคลุม, ถือเอา, เหมาเอา ; Def:ตู่หรือหยิบฉวยเอาของผู้อื่นโดยทึกทักเอาว่าเป็นของตน, แสดงอาการเป็นเชิงรับสมอ้างเพื่อประโยชน์แก่ตน ; Samp:เนื่องจากคนอ้วนส่วนมากชอบกินของหวาน เขาจึงตีขลุมเอาว่าน้ำตาลทำให้เป็นเบาหวาน ที่จริงแล้วไม่ใช่
  4. สมมต : (V) ; assume ; Related:suppose ; Syn:สมมติ, สมมุติ, ถือเอา, คิดเอา ; Def:รู้สึกนึกเห็นอย่างต่างว่า ; Samp:ผมสมมตว่า ถ้าพรุ่งนี้ฝนตก เราจะทำอย่างไร
  5. อุบ 2 : (V) ; keep ; Related:hold back ; Def:ถือเอา, ริบเอา, ไม่ยอมให้เปลี่ยนแปลง

Royal Institute Thai-Thai Dict : ถือเอา, 5 found, display 1-5
  1. อุบ ๒ : ก. นิ่งไว้ไม่เปิดเผย เช่น เรื่องนี้อุบไว้ก่อน; ถือเอา, ริบเอา, เช่น อุบเอามาเป็นของตน, ไม่ยอมให้เปลี่ยนแปลง เช่น ที่รับปาก ไว้แล้ว อุบละนะ. ว. อาการที่พูดหรือบ่นเบา ๆ เป็นต้น เช่น ด่าอุบ บ่นอุบ, อุบอิบ อุบอิบ ๆ หรือ อุบ ๆ อิบ ๆ ก็ว่า.
  2. รับ : ก. ยื่นมือออกถือเอาสิ่งของที่ผู้อื่นส่งให้ เช่น รับของ รับเงิน, ถือเอา สิ่งของที่ผู้อื่นส่งมาให้เช่น รับจดหมาย รับพัสดุภัณฑ์, ไปพบ ณ ที่ที่ กำหนดเพื่ออำนวยความสะดวกหรือพาไปสู่ที่พัก, ต้อนรับ, เช่น ฉัน ไปรับเพื่อนที่ดอนเมือง ประชาชนไปรับนายกรัฐมนตรีกลับจากต่าง ประเทศ, โดยปริยายใช้แก่นามธรรมก็ได้ เช่น รับศีล รับพร; ให้คําตอบ ที่ไม่ปฏิเสธเช่น ตอบรับ รับเชิญ, ยอมสารภาพ เช่น รับผิด; ตกลงตาม เช่น รับทํา; คล้องจอง เช่น กลอนรับสัมผัสกัน; เหมาะเจาะ, เหมาะสม, เช่น หมวกรับกับหน้า; ขานตอบ เช่น กู่เรียกแล้วไม่มีคนรับ โทรศัพท์ ไม่มีผู้รับ; ต้าน เช่น รับทัพ รับศึก; ต่อเสียงเช่น ลูกคู่ร้องรับต้นบท.
  3. อ้าง : ก. ระบุ, บ่งถึง, เช่น อ้างพยาน; กล่าวถึง, ชี้เป็นหลัก, เช่น อ้างบาลี; ถือเอา เช่น อ้างสิทธิ.
  4. เทิก : (โบ) ก. ถือเอา, พาไป.
  5. หาริน, หารี : ว. ถือเอา, นําไป, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น อทินหารี ว่า ผู้ถือเอาของ ที่เขาไม่ได้ให้. (ส.).

Budhism Thai-Thai Dict : ถือเอา, not found

ETipitaka Pali-Thai Dict : ถือเอา, more than 5 found, display 1-5
  1. คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
  2. ปริยาทาติ : ก. เหนื่อยอ่อน, หมดแรง, ถือเอา, ควบคุม
  3. หร : (วิ.) จับ, ถือ, ยึด, จับเอา, ถือเอา, ยึดเอา, ยึดไว้. หรฺ อาทาเน, อ. นำ, นำไป, นำออก. หรฺ อปนยเน นยเน วา, อ. ส. หร.
  4. อาทิ : (วิ.) ก่อน, แรก, ต้น, เป็นต้น, ปฐม, ถือเอา, อัน...ย่อมถือเอา.วิ. อาทียเตปฐมํคณฺหียเตติอาทิ.อาทียตีติวาอาทิ.อาปุพฺโพ, ทาอาทาเน, อิ.ส.อาทิ.
  5. อุคฺคณฺหาติ : ก. ศึกษา, เล่าเรียน, สำเหนียก, ถือเอา, เก็บเอา
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ถือเอา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ถือเอา, not found

(0.0346 sec)