Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ถ่ายหนัง, หนัง, ถ่าย , then ถาย, ถ่าย, ถายหนง, ถ่ายหนัง, หนง, หนํ, หนัง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ถ่ายหนัง, more than 7 found, display 1-7
  1. leather : (N) ; หนัง ; Related:หนังสัตว์
  2. fillem : (SL) ; หนัง ; Related:ภาพยนตร์
  3. flick : (SL) ; หนัง ; Related:ภาพยนตร์
  4. microfilm : (N) ; ฟิล์มขนาดเล็กใช้ฉายหนังหรือถ่ายภาพโดยลดขนาดภาพที่ถ่ายลงได้มาก ; Related:ไมโครฟิล์ม, ฟิล์มขนาดเล็กใช้บรรจุข้อมูล
  5. write-up : (N) ; บทวิจารณ์ (เกี่ยวกับละคร, หนัง, เพลง) ; Related:บทความ (เกี่ยวกับละคร, หนัง, เพลง) ; Syn:critique, notice, review
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : ถ่ายหนัง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ถ่ายหนัง, more than 7 found, display 1-7
  1. ถ่ายหนัง : (V) ; shoot ; Related:film, make a movie ; Syn:ถ่ายภาพยนตร์ ; Def:บันทึกภาพให้ต่อเนื่องกันบนฟิล์มแถบยาวๆ เมื่อฉายด้วยเครื่องฉายไปบนจอ จะมองเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้เหมือนจริง ; Samp:สถานที่ที่ยังคงลักษณะของสถาปัตยกรรมไทยเป็นที่ที่ผู้สร้างนิยมมาถ่ายหนัง
  2. ถ่ายภาพยนตร์ : (V) ; make movie ; Related:film, shoot a movie, take a motion picture ; Syn:ถ่ายหนัง ; Def:บันทึกภาพให้ต่อเนื่องกันบนฟิล์มแถบยาวๆ เมื่อฉายด้วยเครื่องฉายไปบนจอ จะมองเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้เหมือนจริง ; Samp:โนแอลชอบถ่ายภาพยนตร์ตั้งแต่อายุ 14 ปี
  3. ถ่าย 3 : (V) ; take a picture ; Related:photograph ; Syn:ถ่ายภาพ, ถ่ายรูป ; Def:จำลองหรือบันทึกภาพด้วยวิธีฉายเงาบนวัสดุไวแสง ; Samp:ภาพสวยๆ เหล่านี้ ผมวานให้น้องถ่ายให้
  4. ถ่าย 2 : (V) ; excrete ; Related:evacuate ; Syn:อุจจาระ, ขี้, ถ่ายทุกข์, ถ่ายอุจจาระ, อึ ; Def:ขับถ่ายกากอาหารออกทางทวารหนัก ; Samp:วันนี้เขาถ่ายทั้งวัน สงสัยจะท้องเสีย
  5. ถ่าย 1 : (V) ; transfer ; Related:pass on ; Syn:โยกย้าย ; Def:เอาออกจากที่หนึ่งไปใส่อีกที่หนึ่ง ; Samp:คนงานถ่ายกระสอบข้าวลงในเรือสินค้า
  6. หนัง 1 : (N) ; shadow puppet ; Related:shadow puppet theatre ; Syn:หนังตะลุง ; Def:การมหรสพอย่างหนึ่งเอาหนังสัตว์มาสลักเป็นภาพ ; Samp:หนังตะลุงได้รับอิทธิพลมาจากหนังของชวาโดยผ่านทางมาเลเซีย ; Unit:เรื่อง
  7. หนัง 1 : (N) ; skin ; Related:peel ; Syn:ผิวหนัง ; Def:ส่วนของร่างกายที่หุ้มเนื้ออยู่ ; Samp:งานประติมากรรมประเภทนี้จะใช้หนังสัตว์ได้แก่หนังวัวหนังควายมาแกะสลักเป็นภาพฉลุเรื่องรามเกียรติ์ใช้เล่นหนังตะลุง ; Unit:เรื่อง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ถ่ายหนัง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ถ่ายหนัง, more than 5 found, display 1-5
  1. ถ่าย : ก. เอาออกจากที่หนึ่งไปใส่อีกที่หนึ่ง เช่น ถ่ายรถ ถ่ายเรือ, เอาสิ่ง หนึ่งออกแล้วเอาอีกสิ่งหนึ่งใส่เข้าไปแทนที่ เช่น ถ่ายนํ้า ถ่ายเลือด; รุ เช่น ถ่ายยา. ว. ฝ่าย, ท่า, เช่น ถ่ายเดียว.
  2. หนัง : น. ส่วนของร่างกายที่หุ้มเนื้ออยู่, หนังสัตว์ที่เอามาทําเป็นของใช้หรือ เป็นอาหาร; การมหรสพอย่างหนึ่งเอาหนังสัตว์มาสลักเป็นภาพ เช่น หนังตะลุง, หนังใหญ่, (ปาก) ภาพยนตร์ เช่น โรงหนัง ถ่ายหนัง ฉายหนัง เล่นหนัง.
  3. ถ่ายภาพยนตร์ : ก. บันทึกภาพให้ต่อเนื่องกันบนฟิล์มแถบยาว ๆ เมื่อฉายด้วยเครื่องฉายไปบนจอ จะมองเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้ เหมือนจริง, (ปาก) ถ่ายหนัง.
  4. หนัง : น. เรียกขนุนพันธุ์ที่มียวงสีเหลือง เนื้อนุ่มแต่ไม่เหลว ว่า ขนุนหนัง. (ดู ขนุน๑). (เทียบ ม. nanga).
  5. หนังกลางวัน ๑ : ดูใน หนัง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ถ่ายหนัง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ถ่ายหนัง, more than 5 found, display 1-5
  1. ตจะ : หนัง
  2. รองเท้า : ในพระวินัยกล่าวถึงรองเท้าไว้ ๒ ชนิด คือ ๑.ปาทุกา แปลกันว่าเขียงเท้า (รองเท้าไม้หรือเกี๊ยะ) ซึ่งรวมไปถึงรองเท้าโลหะ รองเท้าแก้ว หรือรองเท้าประดับแก้วต่างๆ ตลอดจนรองเท้าสาน รองเท้าถักหรือปักต่างๆ สำหรับพระภิกษุห้ามใช้ปาทุกาทุกอย่าง ยกเว้นปาทุกาไม้ที่ตรึงอยู่กับที่สำหรับถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะและเป็นที่ชำระ ขึ้นเหยียบได้ ๒.อุปาหนา รองเท้าสามัญ สำหรับพระภิกษุทรงอนุญาตรองเท้าหนังสามัญ (ถ้าชั้นเดียว หรือมากชั้นแต่เป็นของเก่าใช้ได้ทั่วไป ถ้ามากชั้นเป็นของใหม่ ใช้ได้เฉพาะแต่ในปัจจันตชนบท) มีสายรัด หรือใช้คีบด้วยนิ้ว ไม่ปกหลังเท้า ไม่ปกส้น ไม่ปกแข็ง นอกจากนั้น ตัวรองเท้าก็ตาม หูหรือสายรัดก็ตาม จะต้องไม่มีสีที่ต้องห้าม (คือ สีขาบ เหลือง แดง บานเย็น แสด ชมพู ดำ) ไม่ขลิบด้วยหนังสัตว์ที่ต้องห้าม (คือ หนังราชสีห์ เสือโคร่ง เสือเหลือง ชะมด นาค แมว ค่าง นกเค้า) ไม่ยัดนุ่น ไม่ตรึงหรือประดับด้วยขนนกกระทาขนนกยูง ไม่มีหูเป็นช่อดังเขาแกะเขาแพะหรือง่ามแมลงป่อง
  3. ตจปัญจกกัมมัฏฐาน : กัมมัฏฐานมีหนังเป็นที่คำรบ ๕, กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนังเป็นที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กัมมัฏฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนของร่างกาย ๕ อย่าง คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง โดยความเป็นของปฏิกูล หรือโดยความเป็นสภาวะอย่างหนึ่งๆ ตามที่มันเป็นของมัน ไม่เอาใจเข้าไปผูกพันแล้วคิดวาดภาพใฝ่ฝันตามอำนาจกิเลส พจนานุกรมเขียน ตจปัญจกกรรมฐาน เรียกอีกอย่างว่า มูลกัมมัฏฐาน (กัมมัฏฐานเบื้องต้น)
  4. ทวัตติงสาการ : อาการ ๓๒, ส่วนประกอบที่มีลักษณะต่างๆ กัน ๓๒ อย่าง ในร่างกาย คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า (อุจจาระ) มันสมอง ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา มันเหลว น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร (ปัสสาวะ); ในขุททกปาฐะ (ฉบับสยามรัฐ) เรียงลำดับมันสมองไว้เป็นข้อสุดท้าย; ทวัตดึงสาการ หรือ ทวดึงสาการ ก็เขียน
  5. ปฐวีธาตุ : ธาตุดิน คือธาตุที่มีลักษณะแข้นแข็ง ในร่างกายที่ใช้เป็นอารมณ์กรรมฐาน ได้แก่ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า; อย่างนี้เป็นการกล่าวถึงปฐวีธาตุในลักษณะที่คนสามัญทุกคนจะเข้าใจได้ และที่จะให้สำเร็จประโยชน์ในการเจริญกรรมฐาน แต่ในทางพระอภิธรรม ปฐวีธาตุเป็นสภาวะพื้นฐานที่มีอยู่ในรูปธรรมทุกอย่าง แม้แต่ในน้ำและในลมที่เรียกกันสามัญ ซึ่งรู้สึกถูกต้องได้ด้วยกายสัมผัส
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ถ่ายหนัง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ถ่ายหนัง, more than 5 found, display 1-5
  1. อูหทติ : ก. ปล่อยออก, ถ่าย, ชำระ, ถ่ายอุจจาระรด
  2. กรณฺฑ,- ฑก : ป. เตียบ, ผอบ, กระเช้า, ผิวหนัง, หนัง
  3. ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.
  4. โจจ : (ปุ.) เปลือก, เปลือกไม้, ผิว, หนัง. ตจฺ สํวรเณ, อ, ตสฺส โจ อสฺโส. ส. โจจ.
  5. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ถ่ายหนัง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ถ่ายหนัง, more than 5 found, display 1-5
  1. หนังสัตว์ : จมฺมํ, อชินํ
  2. ร้านถ่ายรูป : ฉายารูปสาลา
  3. การนวด : สมฺพาหนํ, มทฺทนํ
  4. เตรียมต่อสู้ : ยุทฺธปกรณสํวิทหนํ
  5. เบียดเบียน : อุปโรธติ, ฑหนํ, วิพาธติ, เหฐยติ, ปีฬติ, หึสติ, วิหึสติ, พาธติ, วิเหเธติ
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ถ่ายหนัง, more results...

(0.2666 sec)