Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทัน , then ทน, ทนฺ, ทัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทัน, 197 found, display 1-50
  1. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  2. สีทนฺตร : (ปุ.) สีทันดร ชื่อน่านน้ำที่ล้อมเขาพระสุเมรุ.
  3. ทนฺตายุธ : (ปุ.) หมู ( มีฟันเป็นอาวุธ ). ส. ทนฺตายุธ.
  4. ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
  5. ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
  6. ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
  7. ทนฺตก : นป. เข็มกลัดที่ทำด้วยฟันสัตว์หรืองาช้าง
  8. ทนฺตกฏฺฐ : นป. ไม้สีฟัน, แปรงสีฟัน
  9. ทนฺตกฏฺฐ : (นปุ.) ไม้ชำระฟัน, ไม้สีฟัน, แปรง สีฟัน. วิ. ทนฺตโสธนตฺถํ กฏฺฐํ.
  10. ทนฺตการ : ป. ช่างงา, ช่างแกะสลักงา
  11. ทนฺตกาสาว : ค. ซึ่งย้อมน้ำฝาดมีสีเหมือนงาช้าง
  12. ทนฺตกูฏ : ป. ปลายฟัน
  13. ทนฺตมส : (นปุ.) ริมฝีปาก.
  14. ทนฺตมูล : นป. โคนฟัน, รากฟัน, เหงือก
  15. ทนฺตาชิน : (นปุ.) เหงือก. ทนฺต+อชิน.
  16. ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
  17. ทนฺตุลฺลหก, - เลหก : อ. โดยใช้ฟันและเล็บ
  18. ทนฺทุ : อิต. ดู ททฺทุ
  19. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  20. กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
  21. จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
  22. โตทน : (นปุ.) การเบียดเบียน, การรบกวน, การทิ่มแทง, ความเบียดเบียน, ฯลฯ, ความเจ็บ, ปฏัก.ตุทฺ พฺยถเน, ยุ. ส.โตทน.
  23. ทีน : (วิ.) จน, ยากจน, เข็ญใจ, ยากไร้, ไร้ทรัพย์. ตกยาก. ที ขเย, อีโน. ทีนฺ ทุคฺคตภาเ, อ. ส. ทีน.
  24. นิมฺมทฺทน : นป. ดู นิมฺมทน
  25. ปนูทน : (นปุ.) การบรรเทา, การเคลื่อน, การถอนออก, ความบรรเทา, ฯลฯ, ยุ ปัจ. เป็น ปนุทน โดยไม่ทีฆะบ้าง.
  26. อินฺทน : (นปุ.) ฟืน. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อิ แปลง ธ เป็น ท. นิคคหิตอาคม. อินฺทน
  27. กนฺทน : นป. การร้องไห้, การคร่ำครวญ
  28. กมฺมนิปฺผาทน : นป. การทำงานให้เสร็จ
  29. กสทน : ป. ปรอท
  30. กายวิปฺผนฺทน : นป. ความดิ้นรนทางกาย, ความไหวกาย
  31. ขาทน : (นปุ.) การกัด, การกิน, การกัดกิน, การเคี้ยวกิน. ขาทฺ ภกฺขเณ, ยุ.
  32. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  33. คุโฬทน : (ปุ.) ข้าวสุกผสมด้วยน้ำตาลอ้อย วิ. คุเฬน สํสฏฺโฐ โอทโน คุโฬทโน.
  34. โคสีตจนฺทน : (นปุ.) จันทร์เย็นเหมือนน้ำ วิ. โค วิย อุทกํ วิย สีตํ จนฺทนนฺติ โคสีตจนฺทนํ.
  35. จนฺท จนฺทน : (นปุ.) ความสบายใจ, ความสุขใจ
  36. จนฺทนคนฺธี : ค. มีกลิ่นแห่งไม้จันทน์, มีกลิ่นดุจไม้จันทน์
  37. จนฺทนวิเลปน : นป. เครื่องลูบไล้ที่ทำด้วยไม้จันทน์
  38. จนฺทนสาร : ป. แก่นไม้จันทน์
  39. โจทน : (นปุ.) คำตักเตือน, คำทักท้วง, คำโจทน์, การโจทน์, การฟ้อง. ยุปัจ.
  40. ฉทฺทน : (นปุ.) เครื่องมุงหลังคา, หลังคา. ยุ ปัจ.
  41. ฉทฺทนโกฏิ : (อิต.) ที่สุดแห่งหลังคา, ชายคา.
  42. ฉนฺทน : (ปุ.) ความตั้งใจ, ฯลฯ. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, ยุ.
  43. ฉินฺทน : นป. การตัด, การทำลาย
  44. เฉท เฉทน : (วิ.) ตัด, โกน, บั่น, ทอน, เฉือน, เชือด, แขวะ, ควัก, ขาด, ทะลุ, แตก, ทำลาย, สลาย. ฉิทิ เทฺวธากรณฉิชฺชเนสุ, อ, ยุ.
  45. เฉทน : (นปุ.) การตัด, ฯลฯ.
  46. เฉทนผาลนวิชฺฌนาทิ : (วิ.) มีอันตัดและอัน ผ่าและอันแทงเป็นต้น.
  47. ตนฺทน : (นปุ.) ความหลับ, ความง่วง, ความง่วงเหงา, ความง่วงโงก, ความคร้าน, ความเกียจคร้าน, ความประมาท. ตนฺทฺ อาลสิเย, ยุ.
  48. ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
  49. ติโลทน : ป. ข้าวผสมเมล็ดงา, ข้าวปนเมล็ดงา
  50. ตุทน : นป. การต่ำ, การแทง, การเจาะ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-197

(0.0624 sec)