Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทำนองเพลง, ทำนอง, เพลง , then ทำนอง, ทำนองเพลง, พลง, เพลง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทำนองเพลง, 30 found, display 1-30
  1. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  2. มญฺเญ : (อัพ. นิบาต) เห็นจะ, ทำนอง, บางที, ราวกะ, ดังเราจะกริ่งมโนนัย.
  3. อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
  4. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  5. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  6. นิยามตา : (อิต.) ทำนอง อุ. ธมฺมนิยามตา ทำนองแห่งธรรม. ตา ปัจ. สกัด.
  7. คายก : (ปุ.) คนขับร้อง, คนร้องเพลง. เค สทฺเท, ณฺวุ. เอการสฺส อายกาโร.
  8. คายติ : ก. ขับร้อง, ร้องเพลง, สาธยาย
  9. คายน : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การขับกล่อม, การร้องเพลง, เพลงขับ. ยุ ปัจ.
  10. คีตก : นป. เพลง, เสียงเพลงเบาๆ
  11. คีตรว, - สทฺท, - สร : ป. เสียงขับร้อง, เสียงเพลง
  12. คีติ : (อิต.) การขับ ฯลฯ วิ. คายนํ คีติ. เค สทฺเท, ติ. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  13. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  14. ตเถว : อ. ฉันนั้นแล, ในทำนองเดียวกัน, เหมือนกันนั่นแหละ
  15. ถรุ : (ปุ.) ด้าม เช่นด้ามกระบี่เป็นต้น วิ. ตรตีติ ถรุ. ตรฺ ตรเณ, อุ, ตสฺส โถ, อถวา, ถรฺ สตฺถคติยํ, อุ. ถรุ เป็นชื่อของอาวุธทั่วๆ ไปก็มี เพลงอาวุธ ก็แปล.
  16. เทสนาวิลาส : ป. ความไพเราะแห่งเทศนา, ทำนองเทศน์อันไพเราะ, ลีลาการแสดงธรรมอันจับใจ
  17. ธมฺมนิยาม : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, ธรรมดา, ธรรมนิยาม คือพระไตรลักษณ์.
  18. ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
  19. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การฟ้อน รำและเพลงอันบุคคลพึงขับและดนตรี อันบุคคลพึงประโคมและการดูการเล่น อันเป็นข้าศึกแก่กุศล, การฟ้อนและการขับและการประโคมดนตรีและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึกแก่กุศล. สำนวนการแปลแรกที่แปล คีต และ วาทิต ว่าพึงนั้นแปลตามรูป วิ. เคตพฺพนฺคิ คีตํ. วาทิตพฺพนฺติวาทิตํ.
  20. ปฏิคายติ : ก. ขับเพลงตอบ, ร้องเพลงตอบ
  21. ปฏิคีต : นป. เพลงขับตอบ, เพลงที่ร้องโต้ตอบ
  22. วณิพฺพก : ป. วณิพก, คนขอทานโดยร้องเพลง
  23. วิกูชติ : ฏ. ร้องเจี๊ยวจ๊าว, ร้องเพลง
  24. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  25. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  26. อจฺจติ : ก. ร้องเพลง, สรรเสริญบูชา
  27. อนุปท : (นปุ.) บทน้อย, บทภายหลัง, บทตาม, อนุบท (บทลูกครู่บทรับของเพลง และกลอน).ส.อนุปท.
  28. อนุสาร : (ปุ.) ทำนอง, ท่องแถว, แนว.
  29. อนุสาเรน : ก. วิ. โดยทำนอง, โดยสมควร, เป็นไปตาม
  30. อุปคายติ : ก. ร้องเพลง
  31. [1-30]

(0.0600 sec)