Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ที่ , then ทิ่, ที่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ที่, 2491 found, display 1-50
  1. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  2. เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
  3. จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
  4. นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
  5. อุชฺชงฺคล : (นปุ.) ที่เป็นที่ขาดเขินแห่งน้ำ, ที่ ดอน, อุทก+ชงฺคล ลบ ทก ซ้อน ชฺ.
  6. เอกมนฺต : (ปุ. นปุ.) ส่วนเดียว, ส่วนข้างเดียว, ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง, ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ที่ สมควร. มงคลทีปนี เป็น นปุ.
  7. โอสรณ : (นปุ.) การเที่ยวไป, การไปถึง, ที่ อาศัย, ที่พัก, ที่ประชุม. โอปุพฺโพ, สรฺ คติยํ, ยุ.
  8. กกุฏ : (ปุ.) นกพิราบ, นกเขา. กุกฺ อาทาเน, อโฏ, อุสฺสตฺตํ, อสฺสุตฺตญฺจ (แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ และแปลง อ ที่ ก เป็น อุ).
  9. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  10. กฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ กุฏมฺ วตฺตเน. โพ แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ดู กุฏุมฺพ ด้วย.
  11. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  12. กณฺณิกา : (อิต.) ยอด, ช่อ, ช่อฟ้า, ต่างหู, ตุ้มหู, ฝัก. วิ. เก สีเส นยตีติ กณฺณิกา. กปุพฺโพ, นยฺ คมเน, ณฺวุ, ยโลโป, อิตฺตํ, ณตฺตํ, ทฺวิตตญฺจ (แปลง อ ที่ น เป็น อิ แปลง น เป็น ณ แล้วแปลงเป็น ณฺณ ด้วย), อิตฺถิยํ อา. ส. กรฺณิกา.
  13. กนีนิกา : (อิต.) ลูกตาดำ, แก้วตา, หน่วยตา, กญฺญา+อก ปัจ. แปลง กญฺญา เป็น กนิน ทีฆะ อิ เป็น อี เอา อ ที่ น เป็น อิ อาอิต.
  14. กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
  15. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  16. กมฺมญฺญ : (นปุ.) ความควรในการงาน, ความดีในการงาน, วิ. กมฺมนิ สาธุ กมฺมญฺญํ. ณฺยปัจ. ลบ อิ ที่ นิ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลงเป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง ญ เป็น ญฺญ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. ส. กรฺมฺมณฺย.
  17. กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
  18. กฺริย : (นปุ.) การอันสัตบุรุษควรทำ (ได้แก่ ทานศีลและภาวนา) วิ. สปฺปุริเสหิ กตฺตพฺพนฺติ กฺริยํ. กรฺ กรเณ, โณย. ลบ อ ที่ ก อิ อาคม.
  19. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  20. กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
  21. กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
  22. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  23. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  24. กิตก : (ปุ.) ศัพท์อันเรี่ยรายด้วยกิตปัจจัย, กิตก์ ชื่อของศัพท์ที่ท่านประกอบด้วย ปัจจัยหมู่หนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องหมายของนาม ศัพท์และกิริยาศัพท์ที่ต่าง ๆ กัน. จากบาลี ไวยากรณ์กิตก์. วิ. กิตปจฺจเยน กิรตีติ กิตโก. กิบทหน้า กิรฺธาตุ ในความเรี่ยราย รปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง อิ ที่ กิ ตัว ธาตุเป็น อ และลบตัวเอง (รปัจ.).
  25. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  26. กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
  27. กิลาสุ : (วิ.) เกียจคร้าน. กุจฺฉิตปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, ณุ, ลบ จฺฉิต แล้วแปลง อุ ที่ กุ เป็น อิ.
  28. กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
  29. กุฏุมฺพ : (นปุ.) ทรัพย์ (นา สวน เป็นต้น) กุฏมฺ วตฺตเน, โพ, อสฺส (แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ).
  30. กุตฺตก : (นปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์ (พอนาง ๑๖ คนฟ้อนรำได้), ที่เป็นที่ฟ้อน. วิ. กโรนฺติ เอตฺถ นจฺจนฺติ กุตฺตกํ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ ก สกัด. อภิฯ ว่า แปลง อ ที่ ก เป็น อุ แปลง รฺ เป็น ตฺ.
  31. กุลาปี : (ปุ.) นกยูง. กลาปีศัพท์แปลง อ ที่ ก เป็น อุ.
  32. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  33. โกนฺต : (ปุ.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, อ. แปลง อ ที่ ก เป็น โอ. ดู กุนฺตนี ด้วย.
  34. โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
  35. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  36. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  37. คทฺธ คนฺธ : (ปุ.) แร้ง, นกแร้ง. คทฺธ อภิกงฺขายํ, อ. อภิฯ เป็น คิทฺธิ ธาตุ แปลง อิ ที่ คิ เป็น อ ศัพท์ หลัง คิธฺ อภิกงฺขายํ. แปลง อิ เป็น อ และ ลงนิคคหิตอาคม.
  38. คมฺม : (วิ.) เป็นของชาวบ้าน, ของชาวบ้าน, คาม+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ ม เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ รวมเป็น คามฺย แปลง มฺย เป็น มฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  39. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  40. คิหิ : (ปุ.) คนมีเรือน, คนครองเรือน, คนมิใช่ นักบวช, คฤหัสถ์. วิ. คห เมตสฺสาตฺถีติ คิหิ. คห ศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อี เป็น อิ และ แปลง อ ที่ ค เป็น อิ หรือ ตั้ง เคห ศัพท์ เอา เอ เป็น อิ เป็น คิหี โดยไม่รัสสะบ้าง.
  41. คุฏฺฐ : (ปุ.) แม่มือ, หัวแม่มือ. กุฏ+ฐ แปลง กุ เป็น คุ ลบ อ ที่ ฏ.
  42. คุยฺหก : (ปุ.) ความลับ, คุยหกะ ชื่อกำเนิด เทวดาอย่างที่๔ ใน ๘ อย่าง วิ. นิธโย คุยฺหตีติ คุยฺหโก. คุหุ สํวรเณ, ณฺวุ. แปลง อุ ที่ หุ เป็น ย แล้วเปลี่ยนอักษร.
  43. เคป : (วิ.) ไหว, เคลื่อนไหว. กปิ จลเน, อ. แปลง ก เป็น ค แปลง อ ที่ ค เป็น เอ.
  44. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  45. โครกฺข : (ปุ.) ชาวนา, ชาวไร่. วิ. คํ ปฐวึ รกฺขตีติ โครกฺโข. คปุพฺโพ, รกฺขฺ ปาลเน, อ, อสฺโส (แปลง อ ที่ ค เป็น โอ).
  46. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  47. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  48. จนฺทิมนฺตุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ วิ. จนฺทํ กปฺปูรํ มาติ สทิสํ นยตีติ จนฺทิมา. จนฺทปุพฺโพ, มา มานสทฺเทสุ, ตุ,นฺตุอาเทโส ( แปลง ตุ เป็น นฺตุ ), อิการาเทโส ( แปลง อ ที่ ท เป็น อิ ). ฎีกาอภิฯ.
  49. จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
  50. จุจิ : (นปุ.) ทรวง, ทรวงอก, หน้าอก. จิกฺ อามสเน, อิ. แปลง อิ ที่ จิ เป็น อุ แปลง กฺ เป็น จฺ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2491

(0.1272 sec)