Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: นิ่ง , then นง, นิ่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : นิ่ง, 26 found, display 1-26
  1. นิรีห, นิรีหก : ค. ไม่เคลื่อน, ไม่หวั่นไหว, นิ่ง, อยู่เฉยๆ
  2. อสทฺท : (วิ.) ไม่มีเสียง, นิ่ง, สงบ, เงียบ.
  3. ตุณฺห : (วิ.) นิ่ง ( เฉย เงียบ ไม่กระดุกกระดิก ไม่เคลื่อนไหว). ตุหฺอทฺทเน,โณฺห,หโลโป. อทฺทน แปลว่า เบียดเบียน ทำอันตราย ในที่นี้หมายความว่า เบียดเบียนความดัง หรือความเคลื่อนไหว.
  4. ตุณฺหี : (วิ.) มีความนิ่ง วิ. ตุโณฺห เอตสฺสาตฺถีติ ตุณฺหี. นิ่ง วิ. โตหตีติ ตุณฺหี. ณิ ปัจ.ไม่ลบ ณฺ แปรไว้หน้า หฺ หฺ+อิ เป็น หิ ทีฑะ เป็น หี. ไทยใช้ ดุษฏี หมายถึง อาการนิ่งที่ แสดงอาการยอมรับ. ส. ตุษณีมฺ.
  5. ตุณฺหิกฺขก : ค. นิ่ง, เงียบ, ไม่มีเสียง, ดุษณี
  6. กายโมเนยฺย : นป. ความเป็นปราชญ์ด้วยการทรมานกาย; ข้อปฏิบัติที่ให้ถึงความเป็นผู้นิ่งได้ด้วยการฝึกหัดกาย
  7. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  8. ขนฺติก : ค. ผู้อดทน, ความนิ่งเฉย
  9. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  10. ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
  11. ตุณฺหีภูต : (วิ.) เป็นผู้มีความนิ่งเป็นแล้ว, เป็นผู้นิ่งเป็นแล้ว.
  12. นิรุมฺภติ : ก. ปราบปราม, ระงับ, ทำให้เงียบ, นิ่งเงียบ
  13. ปนฺนก : ค. ผู้เงียบ, ผู้นิ่ง
  14. มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  15. โมน : (นปุ.) ความนิ่ง, ความสงบ. วิ. มุนิโน กมฺมํ โมนํ. ณ ปัจ.
  16. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  17. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  18. อภาสน : (นปุ.) การไม่พูด, ความนิ่ง.
  19. อวติฏฺฐติ : ก. ตั้งลง, ยึดมั่น, ยืนนิ่ง
  20. อุทฺธต : กิต. ยกขึ้นแล้ว, ทำให้ฟุ้งขึ้นแล้ว, ไม่สงบนิ่งแล้ว
  21. นิสีทติ : ก. นั่ง
  22. ปิฬยฺหติ : ก. ห่ม, คลุม, ปิด, นุ่ง, ประดับ
  23. อจฺฉติ : ก. นั่ง, พัก
  24. อาสติ : ก. นั่ง
  25. อาสีน : (วิ.) นั่ง, นั่งอยู่. อาสฺ อุปเวสเน, โต. ตสฺส อีโณ, ณสฺส โน.อาปุพฺโพ, สิ นิสฺสเย, อาโน, อานสฺส อีโน. สิทฺ คตฺยวสาเน วา, อ, ทสฺส โน, ทีโฆ.
  26. อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
  27. [1-26]

(0.0170 sec)