Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บิดา , then บิด, บิดา, ปิตา .

Eng-Thai Lexitron Dict : บิดา, more than 7 found, display 1-7
  1. pater : (N) ; พ่อ ; Related:บิดา ; Syn:father, dad, daddy, papa
  2. Mendel : (N) ; บิดาแห่งพันธุศาสตร์ (Gregor Johann)
  3. agley : (ADV) ; บิด ; Syn:a wry
  4. buckle up : (PHRV) ; บิด ; Related:คด, เบี้ยว ; Syn:belt up, strap in
  5. half-brother : (N) ; พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : บิดา, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : บิดา, more than 7 found, display 1-7
  1. บิดา : (N) ; father ; Syn:บิดร, พ่อ, ชนก, คุณพ่อ ; Def:ผู้ให้กำเนิด ; Samp:ลูกที่ดีควรเชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดา มารดา ครู อาจารย์
  2. มาดา : (N) ; mother ; Syn:แม่, มารดา, คุณแม่, มาตุรงค์, มารดร, มาตา, มาตุ, มาตุเรศ, ชนนี ; Ant:บิดา ; Def:หญิงผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูลูก ; Samp:เด็กไทยควรมีความซื่อสัตย์ กตัญญู มีสัมมาคารวะ เชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดามาดา ครูอาจารย์ ; Unit:คน
  3. มาดา : (N) ; mother ; Syn:แม่, มารดา, คุณแม่, มาตุรงค์, มารดร, มาตา, มาตุ, มาตุเรศ, ชนนี ; Ant:บิดา ; Def:หญิงผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูลูก ; Samp:เด็กไทยควรมีความซื่อสัตย์ กตัญญู มีสัมมาคารวะ เชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดามาดา ครูอาจารย์ ; Unit:คน
  4. มารดา : (N) ; mother ; Syn:แม่, คุณแม่, มาตุรงค์, มาตุเรศ, มารดร, มาดา, มาตา, ชนนี, มาตุ ; Ant:บิดา ; Samp:เด็กมักชอบไปปรึกษาปัญหากับเพื่อนมากกว่าปรึกษาบิดามารดาหรือครูอาจารย์ ; Unit:คน, ท่าน
  5. มารดา : (N) ; mother ; Syn:แม่, คุณแม่, มาตุรงค์, มาตุเรศ, มารดร, มาดา, มาตา, ชนนี, มาตุ ; Ant:บิดา ; Samp:เด็กมักชอบไปปรึกษาปัญหากับเพื่อนมากกว่าปรึกษาบิดามารดาหรือครูอาจารย์ ; Unit:คน, ท่าน
  6. แม่ : (N) ; mother ; Related:mom, mum, mummy, ma, mater ; Syn:มาดา, มารดา, คุณแม่, มาตุรงค์, มารดร, มาตา, มาตุ, มาตุเรศ, ชนนี ; Ant:บิดา ; Def:หญิงผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูลูก, คำที่ลูกเรียกหญิงผู้ให้กำเนิดหรือเลี้ยงดูตน ; Samp:ความรักที่แม่มีให้ลูกเป็นรักที่ยิ่งใหญ่กว่ารักใดในโลก
  7. ฝ่ายบิดา : (N) ; paternal ; Syn:ข้างบิดา ; Samp:ผู้ที่มียีนลักษณะด้อย 2 ยีน โดยได้รับจากฝ่ายบิดา และฝ่ายมารดาซึ่งเป็นผู้พาโรคก็จะเป็นโรคได้
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : บิดา, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : บิดา, more than 5 found, display 1-5
  1. บิดา : น. พ่อ (ใช้ในที่สุภาพ), โดยปริยายหมายความว่า ผู้ให้กําเนิด เช่น บิดาแห่งประวัติศาสตร์, บิดร ก็ว่า. (ป. ปิตา; ส. ปิตฺฤ).
  2. ปิตา : (แบบ) น. บิดา, พ่อ. (ป.; ส. ปิตฺฤ).
  3. : พยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบ ในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป ตัว ป ที่ขึ้นต้นของคําหรือพยางค์ในภาษาบาลีและสันสกฤต มักแผลงมาเป็นตัว บ ในภาษาไทย เช่น ปท ปิตา เป็น บท บิดา.
  4. ผู้บุพการี : น. ผู้ที่ทำอุปการะมาก่อน ได้แก่ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด; (กฎ) ญาติทางสาโลหิตโดยตรงขึ้นไป ได้แก่ บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด.
  5. บิด ๑ : ก. หมุนให้เป็นเกลียวอย่างบิดผ้า, หมุนไปทางใดทางหนึ่ง เช่น บิดลูกบิด; เผล้ไปจากสภาพปรกติ เช่น ล้อรถบิด, ทําให้ผิดไป จาก สภาพความจริง เช่น บิดข้อความ; หลีกเลี่ยงเพราะความ เกียจคร้านเป็นต้น เช่น บิดงาน บิดการ, เอานิ้วมือบีบเนื้ออย่าง แรงทํานองแหนบแล้วหมุน เช่น บิดเนื้อ บิดหู; กิริยาที่ปลากัด ปลาเข็มเอาปากต่อปากกัดกันจนติดแล้วกลับตัวไปมา. น. ลักษณนามเรียกอาการที่ปลากัดปลาเข็มเอาปากต่อปาก กัดกันแล้วกลับตัวไปมาเช่นนั้นแต่ละยกว่า บิดหนึ่ง ๒ บิด.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : บิดา, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : บิดา, more than 5 found, display 1-5
  1. นกุลบิดา : “พ่อของนกุล”, คฤหบดี ชาวเมืองสุงสุมารคีรี ในแคว้นภัคคะ มีภรรยาชื่อ นกุลมารดา สมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าเสด็จมายังเมืองสุงสุมารคีรี ประทับที่ป่าเภสกลาวัน ท่านคฤหบดีและภรรยาไปเฝ้าพร้อมกับชาวเมืองคนอื่นๆ พอได้เห็นครั้งแรก ทั้ง ๒ สามีภรรยาก็เกิดความรู้สึกสนิทหมายใจเหมือนว่าพระพุทธเจ้าเป็นบุตรของตน ได้เข้าไปถึงพระองค์และแสดงความรู้สึกนั้น พระพุทธเจ้าได้แสดงธรรมโปรด ทั้ง ๒ ท่านได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน ท่านนกุลบิดาและนกุลมารดานี้ เป็นคู่สามีภรรยาตัวอย่าง ผู้มีความจงรักภักดีต่อกันอย่างบริสุทธิ์และมั่นคงยั่งยืน ตราบเท่าชรา ทั้งยังปรารถนาจะพบกันทั้งชาตินี้และชาติหน้า เคยทูลขอให้พระพุทธเจ้าแสดงหลักธรรมที่จะทำให้สามีภรรยาครองรักกันยั่งยืนตลอดไปทั้งภพนี้และภพหน้า เมื่อท่านนกุลบิดาเจ็บป่วยออดแอดร่างกายอ่อนแอ ไม่สบายด้วยโรคชรา ท่านได้ฟังพระธรรมเทศนาครั้งหนึ่ง ที่ท่านประทับใจมากคือ พระดำรัสที่แนะนำให้ทำใจว่า “ถึงแม้ร่างกายของเราจะป่วย แต่ใจของเราจะไม่ป่วย” ท่านนกุลบิดาได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าให้เป็นเอตทัคคะในบรรดาอุบาสกผู้สนิทสนมคุ้นเคย (วิสสาสิกะ)
  2. จักกวัตติสูตร : ชื่อสูตรที่ ๓ แห่งทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค พระสุตตันตปิฎก พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุทั้งหลายให้พึ่งตน คือพึ่งธรรม ด้วยการเจริญสติปัฏฐาน ๔ ซึ่งจะทำให้ได้ชื่อว่าเป็นผู้ดำเนินอยู่ในแดนของตนเองที่สืบมาแต่บิดา จะมีแต่ความดีงามเจริญขึ้นไม่เปิดช่องให้แก่มาร เช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิที่ทรงประพฤติตามหลักจักรวรรดิวัตร อันสืบกันมาแต่บรรพชนของพระองค์ ย่อมทำให้จักรรัตนะบังเกิดขึ้นมาเอง, จักรวรรดิวัตร นั้นมี ๔ ข้อใหญ่ ใจความว่า ๑.พระเจ้าจักรพรรดิเป็นธรรมาธิปไตย และจัดการคุ้มครองป้องกันโดยชอบธรรม แก่ชนทุกหมู่เหล่าในแผ่นดิน ตลอดไปถึงสัตว์ที่ควรสงวนพันธุ์ทั้งหลาย ๒.มิให้มีการอันอธรรมเกิดขึ้นในแผ่นดิน ๓.ปันทรัพย์เฉลี่ยให้แก่ผู้ไร้ทรัพย์ ๔.ปรึกษาสอบถามการดีชั่ว ข้อควรและไม่ควรประพฤติ กะสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ อยู่เสมอ; จักรวรรดิวัตร ๔ ข้อนี้ บางทีจัดเป็น ๕ โดยแยกข้อ ๑.เป็น ๒ ข้อ คือ เป็นธรรมาธิปไตย ถือธรรมเป็นใหญ่อย่างหนึ่ง กับจัดการคุ้มครองป้องกันอันชอบธรรม อย่างหนึ่ง, นอกจากนั้น สมัยต่อมา อรรถกถาจัดแบ่งซอยออกไป และเพิ่มเข้ามาอีก รวมเป็น ๑๒ ข้อ เรียกว่า จักรวรรดิวัตร ๑๒ ; พระสูตรนี้ถือว่าเป็นคำสอนแสดงหลักวิวัฒนาการของสังคมตามแนวจริยธรรม กล่าวถึงหลักการปกครอง และหลักความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจกับจริยธรรม; เรื่องพระศรีอารยเมตไตรย ก็มีต้นเค้ามาจากพระสูตรนี้
  3. จัณฑาล : ลูกต่างวรรณะ เช่นบิดาเป็นศูทร มารดาเป็นพราหมณ์ มีลูกออกมา เรียกว่า จัณฑาล ถือว่าเป็นคนต่ำทราม ถูกเหยียดหยามที่สุดในระบบวรรณะของศาสนาพราหมณ์
  4. ชยเสนะ : พระราชบิดาของพระเจ้าสีหหนุ ครองนครกบิลพัสดุ์
  5. ญาติ : พี่น้องที่ยังนับรู้กันได้, ผู้ร่วมสายโลหิตกันทางบิดาหรือมารดา, ในฎีกาวินัย ท่านกับ ๗ ชั้น ทั้งข้างบนและข้างล่าง แต่ตามปกติจะไม่พบมากหลายชั้นอย่างนั้น ปัจจุบันท่านให้นับญาติ ๗ ชั้น หรือ ๗ ชั่วคน คือ นับทางมารดาก็ดี ทางบิดาก็ดี ชั้นตนเองเป็น ๑ ข้างบน ๓ (ถึงทวด) ข้างล่าง ๓ (ถึงเหลน), เขยและสะใภ้ ไม่นับเป็นญาติ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : บิดา, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : บิดา, more than 5 found, display 1-5
  1. กรช : (วิ.) เกิดในน้ำ, เกิดในกาย. วิ. กเร ชายตีติ กรโช. กรปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. เกิดจากกระ คือน้ำสัมภวะของมารดาและ บิดา วิ. กรา สมฺภวา ชาโต กรโช.
  2. ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
  3. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  4. ปุพฺพาจริย : (ปุ.) อาจารย์ในก่อน,อาจารย์มีในกาลก่อน, อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดา มารดา, บุรพาจารย์
  5. กรชกาย กรชฺชกาย : (ปุ.) กายอันเกิดแต่ธุลี ในน้ำ, กายอันเกิดแต่ความรักของพรหม คือมารดาและบิดา วิ. กรชา ชาโต กาโย กรชกาโย. กายอันเกิดจากกระคือน้ำ สัมภวะของมารดาและบิดา วิ. กรโช กาโย กรชกาโย. ศัพท์หลังซ้อน ชฺ. กรญฺช
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : บิดา, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : บิดา, 4 found, display 1-4
  1. เกื้อกูลบิดา : เปตฺเตยฺยา
  2. โรคลงแดง (บิด) : ปกฺขนฺทิกา, อติสาโร
  3. พ่อ : ปิตา, ชนโก, ตาต
  4. ปู่, ตา : อยฺยโก, ปิตามโห

(0.1075 sec)