Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บุรุษ , then บุรุษ, ปุรุษ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : บุรุษ, 70 found, display 1-50
  1. นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
  2. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  3. โปส : (ปุ.) สัตว์, มนุษย์, บุคคล, บุทคล, คน, บุรุษ, ชาย, ผู้ชาย. ปุสฺ โปสเน, โณ. ปุรฺ ปูรเณ วา, โส, อุสฺโสตฺตํ, รฺโลโป.
  4. ปรปุริส : (ปุ.) บุรุษอื่น, บุรุษอื่นๆ, บุรุษ เบื้องหลัง.
  5. ปุม : (ปุ.) ชาย, คน, คนผู้ชาย, บุรุษ. วิ. ปุนาตีติ ปุมา. ปุ ปวเน, โม.
  6. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  7. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  8. กิปุริส กิมฺปุริส : (ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
  9. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  10. คุฒจาร : (ปุ.) คนสอดแนม, จารบุรุษ. คุฒ มาจาก คุหฺ สํวรเณ. ฒ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ.
  11. คุฬฺหปุริส คูฬฺหปุริส : (ปุ.) คนสอดแนม, จารบุรุษ.
  12. จตฺตาฬีสทนฺต : ค. (มหาบุรุษ) ผู้มีฟันสี่สิบซี่
  13. จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
  14. ชงฺฆเปสนิก : นป. การเดินส่งข่าว; การไปรษณีย์, ผู้เดินส่งข่าว, บุรุษไปรษณีย์
  15. เชฏฺฐปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เจริญที่สุด, บุรุษผู้ เป็นพี่ใหญ่, เชฏฐบุรุษ ชายที่ได้รับยกย่อง ว่าเป็นพี่ใหญ่ด้วยได้ทำความดีให้แก่ ประเทศมาก.
  16. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  17. ตุมฺห : (ปุ. อิต.) เจ้า, ท่าน, สู, เอง, มึง, พระ คุณเจ้า, พระคุณท่าน, มหาบพิตร, มหา- บพิตรพระราชสมภารเจ้า, ฯลฯ. ลูกพูดกับ พ่อแม่ แปลว่า พ่อ, แม่, คุณพ่อ, คุณแม่. ยังมีคำแปลอีกมากใช้ยักย้ายให้เหมาะสม กับฐานะของบุคคล ตุมฺหศัพท์เป็นบุรุษที่ ผู้พูดพูดกับคนใด ใช้สำหรับคนนั้น แจกรูปเหมือนกันทั้งสองลิงค์.
  18. ทฺวตฺตีสมหาปุริสลกฺขณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับเฉพาะแล้วด้วยลักษณะของมหาบุรุษสามสิบสองประการ (คำประการเป็นคำเหน็บเข้ามา). เป็น ต. ตัป. มี วิเสสน บุพ. กัม, ฉ. ตัป และ ส. ทิคุ. เป็นภายใน.
  19. ทาสปุริส : ป. บุรุษผู้เป็นทาส, คนรับใช้
  20. นิปฺปุริส : ค. ไม่มีบุรุษ, ไม่ใช่บุรุษ
  21. นิสภ : ป. โคที่เป็นผู้นำ, บุรุษที่ประเสริฐสุด
  22. ปยุตฺตก : ค., ป. ผู้ที่เขาประกอบขึ้น, ผู้ที่เขาแต่งตั้งขึ้น, ผู้ที่เขาใช้งาน; คนงาน, คนรับจ้าง, จารบุรุษ
  23. ปุพฺพปท : (นปุ.) คำเป็นเครื่องถึงก่อน, คำอันเป็นส่วนเป็นเครื่องถึงก่อนบทนามนาม เช่น ซึ่งบุรุษเป็นต้น, บุพบท, บุรพบท (คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำต่อคำ).
  24. ปุพฺพปุริส : (ปุ.) บุรุษแรก, บุรุษในเบื้องต้น, บุรพบุรุษ.
  25. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  26. ปุริสการ : (ปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงกระทำเป็นของแห่งบุรุษ, ความเพียรเครื่องกระทำของบุรษ.
  27. ปุริสกิจฺจ : (นปุ.) งานของบุรุษ, หน้าที่ของบุรุษ, หน้าที่ของลูกผู้ชาย.
  28. ปุริสฆาตกกมฺม : (นปุ.) การกระ ทำของบุรุษ ผู้ฆ่าซึ่งบุรุษ.
  29. ปุริสถาม : ป. กำลังบุรุษ
  30. ปุริสปรกฺกม : ป. การก้าวไปข้างหน้าของบุรุษ, ความพยายามของบุรุษ
  31. ปุริสาชญฺญ : ป. บุรุษอาชาไนย
  32. ปุริสาชญฺญ ปุริสาชานีย ปุรสาชาเนยฺย : (ปุ.) บุรุษผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจอันพลัน, บุรุษผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสิ่งใช่เหตุโดยยิ่ง, บุรุษผู้อาชาไนย, บุรุษอาชาไนย.
  33. ปุริสาธม : (ปุ.) บุรุษต่ำต้อย, บุรุษผู้เลวทราม, บุรุษผู้อาภัพ. ปุริส+อธม.
  34. โปริสิย : (วิ.) ชั่วบุรุษ (สูงเท่ากับคนยืน)
  35. ผล : (นปุ.) เครื่องหมายบุรุษ, เครื่องหมายสตรี, นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, อวัยวะสืบพันธุ์ (ของบุรุษ-สตรี). วิ. ผลติ เอเตน ปุตฺตนฺติ ผลํ. ผล. นิปฺผตฺติยํ, อ.
  36. พฺรหฺมุชฺชุคตฺต : ค. มีกายตรงเหมือนกายพรหม, มีท่าทางสง่างาม (ลักษณะอย่างหนึ่งในกายของมหาบุรุษ)
  37. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  38. โพธิ : (ปุ.) โพธิ์ ไม้โพธิ์ ต้นโพธิ์ ชื่อต้นไม้ ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อทรงผนวชเป็นพระมหาบุรุษแสวงหาโมกขธรรมได้เสด็จประทับบำเพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สพฺพญฺญุตญฺ ญาณํ พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ. พุธฺ อวคมเน, อิ.
  39. ภริยา : (อิต.) หญิงอันบุรุษพึงเลี้ยง, ภรรยา, ภารยา, ภริยา, เมีย. ภริตพฺพโต ภริยา. ภรฺ โปสเน, โย อิอาคโม.
  40. มชฺฌิมปุริส : (ปุ.) บุรุษมีในท่ามกลาง, บุรุษท่ามกลาง, คนสันทัดคน.
  41. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  42. มหาปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้ใหญ่, บุรุษผู้ประเสริฐ, มหาบุรุษ คือท่านผู้ทำประโยชน์ ให้แก่ประเทศชาติหรือโลก (ชาวโลก) มาก หรือท่านผู้สร้างสมบารมีไว้มาก เรียกเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อเสด็จออกผนวชแสวงหาโมกขธรรมว่า พระมหาบุรุษ.
  43. เมหน : (นปุ.) อวัยวะอันมีในที่ลับ, อวัยวะสำหรับหลั่งมูตร, อวัยวะสำหรับหลั่งโลหิต, นิมิตรของบุรุษ, นิมิตรของสตรี, ของลับของบุรุษ, ของลับของสตรี. วิ. มิหติ เรตมุตฺตานิ อเนนาติ เมหนํ. มิหฺ เสจเน, ยุ.
  44. โมฆปุริส : ป. โมฆบุรุษ, บุรุษเปล่า, คนไร้ประโยชน์
  45. ลิงฺค : นป. นิมิตแห่งบุรุษสตรี, เครื่องหมาย, ลักษณะ
  46. สปฺปายการก : (ปุ.) บุรุษพยาบาล
  47. สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
  48. สาธุปุริส : (ปุ.) สัปปุริสะ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ.
  49. สุชาตา : (อิต.) พระนางสุชาดา ชื่อพระชายาของพระอินทร์, นางสุชาดา ผู้ถวายข้าวมธุปายาสแด่พระมหาบุรุษในเช้าวันตรัสรู้. วิ. สุเขน ชาดา สุนฺทรา วา ชาติ ยสฺสา สา สุชาตา.
  50. สุปุริส : (ปุ.) บุรุษดี, คนดี. สุนฺทร+ปุริส.
  51. [1-50] | 51-70

(0.0262 sec)