Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ประการ , then ปรการ, ประการ, ปราการ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ประการ, more than 7 found, display 1-7
  1. in the first instance : (IDM) ; ประการแรก (คำทางการ) ; Related:อย่างแรก, เริ่มแรก
  2. by no means : (ADV) ; ไม่ด้วยประการใดเลย ; Related:มิใช่ใดๆเลย ; Syn:by no means, not by any means, not in any way, absolutely not, not at all
  3. cardinal sin : (N) ; หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน)
  4. incidentally : (ADV) ; อีกประการหนึ่ง ; Syn:by the way
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : ประการ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ประการ, more than 7 found, display 1-7
  1. ประการ : (CLAS) ; numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects ; Syn:ชนิด, อย่าง ; Samp:ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ
  2. ประการ : (CLAS) ; numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects ; Syn:ชนิด, อย่าง ; Samp:ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ
  3. สถาน : (N) ; item ; Related:count, point, mean, kind, sort, way ; Syn:ประการ ; Samp:การกระทำผิดของเขาคราวนี้จะต้องถูกลงโทษหลายสถาน
  4. ประการใด : (N) ; what ; Related:whatever, whatsoever, how, however ; Syn:ทำนอง, แบบ, อย่างไร ; Samp:ปัญหานี้จะแก้ไขประการใด
  5. ประการหนึ่ง : (N) ; some ; Related:a feature ; Samp:มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย
  6. ประการหนึ่ง : (N) ; some ; Related:a feature ; Samp:มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย
  7. ประการหนึ่ง : (N) ; some ; Related:a feature ; Samp:มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ประการ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ประการ, more than 5 found, display 1-5
  1. ประการ : น. อย่าง เช่น จะทําประการไร, ชนิด เช่น หลายประการ; ทํานอง, แบบ, เช่น ด้วยประการฉะนี้. (ส. ปฺรการ; ป. ปการ).
  2. บัญญัติ ๑๐ ประการ. : ก. ตราหรือกําหนดขึ้นไว้เป็นข้อบังคับ เป็น หลักเกณฑ์ หรือเป็นกฎหมาย เช่น บัญญัติศัพท์ บัญญัติ กฎหมาย. (ป. ปญฺ?ตฺติ).
  3. ปราการ : [ปฺรากาน] น. กําแพงสําหรับป้องกันการรุกราน. (ส. ปฺราการ; ป. ปาการ).
  4. จำห้าประการ : ว. มีเครื่องจองจําครบ ๕ อย่าง คือ ๑. ตรวนใส่เท้า ๒. เท้า ติดขื่อไม้ ๓. โซ่ล่ามคอ ๔. คาไม้ใส่คอทับโซ่ ๕. มือ ๒ ข้างสอดเข้าไป ในคาและไปติดกับขื่อทําด้วยไม้, เรียกสั้น ๆ ว่า จําครบ. (ประชุมพงศ. ๓๙).
  5. นานาประการ : ว. มีหลายอย่าง, นานัปการ ก็ว่า. (ส.).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ประการ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ประการ, more than 5 found, display 1-5
  1. ฐานะ : เหตุ, อย่าง, ประการ, ที่ตั้ง, ตำแหน่ง, โอกาส, ความเป็นไปได้
  2. ปราการ : กำแพง, เครื่องล้อมกั้น
  3. กุมารีภูตา : ผู้เป็นนางสาวแล้ว หมายถึง สามเณรีที่จะอุปสมบทเป็นภิกษุณี เช่น ในคำว่า อิฉันเป็นนางสาว (กุมารีภูตา) ของแม่เจ้าชื่อนี้ มีอายุ ๒๐ ปีเต็ม มีสิกขาอันศึกษาแล้วในธรรม ๖ ประการ ๒ ปี ขอวุฏฐานสมมติต่อสงฆ์เจ้าข้า
  4. ครุธรรม : ธรรมอันหนัก, หลักความประพฤติสำหรับนางภิกษุณีจะพึงถือเป็นเรื่องสำคัญอันต้องปฏิบัติด้วยความเคารพไม่ละเมิดตลอดชีวิต มี ๘ ประการ คือ ๑.ภิกษุณีแม้บวชร้อยพรรษาแล้ว ก็ต้องกราบไหว้ภิกษุแม้บวชวันเดียว ๒.ภิกษุณีจะอยู่ในวัดที่ไม่มีภิกษุไม่ได้ ๓.ภิกษุณีต้องไปถามวันอุโบสถและเข้าไปฟังโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน ๔.ภิกษุณีอยู่จำพรรษาแล้วต้องปวารณาในสงฆ์ ๒ ฝ่ายโดยสถานทั้ง ๓ คือ โดยได้เห็น โดยได้ยิน โดยรังเกียจ (รังเกียจหมายถึง ระแวงสงสัยหรือประพฤติกรรมอะไรที่น่าเคลือบแคลง) ๕.ภิกษุณีต้องอาบัติหนัก ต้องประพฤติมานัตในสงฆ์ ๒ ฝ่าย (คือ ทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์) ๑๕ วัน ๖.ภิกษุณีต้องแสวงหาอุปสัมปทาในสงฆ์ ๒ ฝ่าย เพื่อนางสิกขมานา ๗.ภิกษุณีไม่พึงด่าไม่พึงบริภาษภิกษุไม่ว่าจะโดยปริยายใดๆ ๘.ไม่ให้ภิกษุณีว่ากล่าวภิกษุแต่ภิกษุว่ากล่าวภิกษุณีได้
  5. จตุรพิธพร : พร ๔ ประการ คือ อายุ (ความมีอายุยืน) วรรณะ (ความมีผิวพรรณผ่องใส) สุขะ (ความสุขกายสุขใจ) พละ (ความมีกำลังแข็งแรง มีสุขภาพดี)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ประการ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ประการ, more than 5 found, display 1-5
  1. ปรการ : ป. การกระทำของผู้อื่น, การสร้างสรรค์โดยผู้อื่น
  2. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  3. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  4. นวารหคุณ : ป. พระพุทธคุณ ๙, พระคุณของพระพุทธเจ้าผู้อรหันต์ ๙ ประการ
  5. ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ ๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ประการ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ประการ, 2 found, display 1-2
  1. ประการ, ประเภท : ปเภท
  2. ประการสำคัญ : ปุพฺพงฺคโม โหติ เสฏฺโฐ

(0.1485 sec)