Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ปีน , then ปน, ปิน, ปีน .

Eng-Thai Lexitron Dict : ปีน, more than 7 found, display 1-7
  1. ascend : (VT) ; ปีน ; Related:ปีนขึ้น ; Syn:mount, climb
  2. climb : (VT) ; ปีน ; Syn:climb on, clamber up
  3. climb : (VI) ; ปีน
  4. swarm 2 : (VI) ; ปีนป่าย ; Related:ปีน ; Syn:climb, shin
  5. swarm up : (PHRV) ; ปีนป่ายรวดเร็วและง่ายดาย ; Related:ปีนคล่องแคล่ว, ปีนว่องไว ; Syn:shin down, shin up, skid up
  6. clamber : (VT) ; ปีนด้วยความลำบาก
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ปีน, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ปีน, more than 7 found, display 1-7
  1. ปีน : (V) ; climb ; Related:clamber ; Syn:ไต่, ป่ายปีน, ปีนป่าย ; Def:ไต่โดยใช้มือและเท้าเกาะยึดขึ้นไป ; Samp:ผมเคยปีนขึ้นไปดูบนยอดปรางค์พบร่องรอยของการทาสีเช่นกัน
  2. ปีนป่าย : (V) ; climb ; Related:clamber ; Syn:ป่ายปีน, ปีน ; Def:ไต่โดยใช้มือและเท้าเกาะยึดขึ้นไป ; Samp:เด็กๆ มีกิจกรรมฝึกตนหลายอย่าง เช่น ฝึกปีนป่าย ลอดอุโมงค์ ฝึกการทรงตัว
  3. ป่ายปีน : (V) ; climb ; Related:clamber ; Syn:ปีนป่าย, ป่าย, ปีน ; Def:ไต่โดยใช้มือและเท้าเกาะยึดขึ้นไป ; Samp:โปรแกรมเดินป่าสู่น้ำตกเหวกระถินมีทั้งเดินขึ้นเนินเขา ป่ายปีน ไต่หน้าผาน้ำตกลงมาตามรากไม้
  4. ปีนเกลียว : (V) ; contradict ; Related:be inconsistent ; Syn:ขัดแย้ง ; Ant:กลมเกลียว ; Def:มีความเห็นไม่ลงรอยกัน, แตกพวกหรือไม่ถูกกัน. ; Samp:หากขาดมุทิตาจิต ในการปฏิบัติงานกับเพื่อนร่วมงานก็จะแย่งกันเอาหน้า แข่งดี แข่งเด่น ปีนเกลียว ทะเลาะเบาะแว้งเป็นศัตรูทำลายล้างกัน
  5. ตะกาย : (V) ; clamber ; Related:scramble, climb, claw ; Syn:ปีน, ไต่, ป่ายปีน, ตะเกียกตะกาย ; Samp:หมาข้างถนนตะกายขึ้นไปบนรถและคุ้ยเขี่ยหาอาหาร
  6. ตะกาย : (V) ; clamber ; Related:scramble, climb, claw ; Syn:ปีน, ไต่, ป่ายปีน, ตะเกียกตะกาย ; Samp:หมาข้างถนนตะกายขึ้นไปบนรถและคุ้ยเขี่ยหาอาหาร
  7. ปน : (V) ; mix ; Related:adulterate, mingle, be mixed, blend ; Syn:ประสม, แกมกัน, รวมกัน, ประสาน, ผสาน, ปนเป, ผสมผสาน, ผสม, คละเคล้า ; Samp:บางคนชอบทานข้าวที่มีข้าวจ้าวปนกับข้าวเหนียว
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ปีน, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ปีน, more than 5 found, display 1-5
  1. ปีน : น. ชื่อเพลงที่ขึ้นต้นด้วยคํา ปีน เช่น ปีนตลิ่งนอก ปีนตลิ่งใน.
  2. ปีน : ก. ไต่โดยใช้มือและเท้าเกาะยึดขึ้นไป เช่น ปีนต้นไม้ ปีนเขา, ใช้ใน อาการที่ไต่ลงก็มี เช่น ปีนลงทางหน้าต่าง; โดยปริยายหมายความว่า ออกนอกที่นอกทาง เช่น ปีนทาง.
  3. ปีนป่าย : ก. ปีนหรือตะกายขึ้นไปด้วยความยากลำบาก, ป่ายปีน ก็ว่า.
  4. ปีนเกลียว : ว. มีความเห็นไม่ลงรอยกัน, ขัดแย้งกัน, แตกพวกหรือ ไม่ถูกกัน.
  5. ป่ายปีน : ก. ปีนหรือตะกายขึ้นไปด้วยความยากลำบาก, ปีนป่าย ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ปีน, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ปีน, 10 found, display 1-10
  1. กตัตตาวาปนกรรม : ดู กตัตตากรรม
  2. โมหาโรปนกรรม : กิริยาที่สวดประกาศยกโทษภิกษุว่า แสร้งทำหลง คือรู้แล้วทำเป็นไม่รู้; เมื่อสงฆ์สวดประกาศแล้ว ยังแกล้งทำไม่รู้อีก ต้องปาจิตตีย์ (สิกขาบทที่ ๓ แห่งสหธรรมิกวรรค ปาจิตติยกัณฑ์)
  3. กรรม ๑๒ : กรรมจำแนกตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการให้ผล พระอรรถกถาจารย์รวบรวมแสดงไว้ ๑๒ อย่างคือ หมวดที่ ๑ ว่าด้วยปากกาล คือ จำแนกตามเวลาที่ให้ผล ได้แก่ ๑.ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมให้ผลในปัจจุบัน คือในภพนี้ ๒.อุปปัชชเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพที่จะไปเกิด คือในภพหน้า ๓.อปราปริยเวทนียกรรม กรรมให้ผลในภพต่อๆไป ๔.อโหสิกรรม กรรมเลิกให้ผล หมวดที่ ๒ ว่าโดยกิจ คือจำแนกการให้ผลตามหน้าที่ ได้แก่ ๕.ชนกกรรม กรรมแต่งให้เกิด หรือกรรมที่เป็นตัวนำไปเกิด ๖.อุปัตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน คือเข้าสนับสนุนหรือซ้ำเติมต่อจากชนกกรรม ๗.อุปปีฬกกรรม กรรมบีบคั้น คือเข้ามาบีบคั้นผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้นให้แปรเปลี่ยนทุเลาเบาบางหรือสั้นเข้า ๘.อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน คือกรรมแรงฝ่ายตรงข้ามที่เข้าตัดรอนการให้ผลของกรรม ๒ อย่างนั้นให้ขาดหรือหยุดไปทีเดียว หมวดที่ ๓ ว่าโดยปากทานปริยาย คือจำแนกตามลำดับความแรงในการให้ผล ได้แก่ ๙.ครุกกรรม กรรมหนัก ให้ผลก่อน ๑๐.พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม กรรมทำมากหรือกรรมชิน ให้ผลรองลงมา ๑๑.อาสันนกรรม กรรมจวนเจียน หรือกรรมใกล้ตาย ถ้าไม่มี ๒ ข้อก่อนก็จะให้ผลก่อนอื่น ๑๒.กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม กรรมสักว่าทำ คือเจตนาอ่อน หรือมิใช่เจตนาอย่างนั้น ให้ผลต่อเมื่อไม่มีกรรมอื่นให้ผล
  4. จุลวรรค : ชื่อคัมภีร์อันเป็นหมวดหนึ่งแห่งพระวินัยปิฎก ซึ่งมีทั้งหมด ๕ หมวด คือ อาทิกัมม์ ปาจิตตีย์ มหาวรรค จุลวรรค บริวาร ; คัมภีร์จุลวรรค มี ๑๒ ขันธกะ คือ ๑.กัมมขันธกะ ว่าด้วยเรื่องนิคคหกรรม ๒.ปาริวาสิกขันธกะ ว่าด้วยวัตรของภิกษุผู้อยู่ปริวาส ผู้ประพฤติมานัต และผู้เตรียมจะอัพภาน ๓.สมุจจยขันธกะ ว่าด้วยระเบียบปฏิบัติต่างๆ ในการประพฤติวุฏฐานวิธี ๔.สมถขันธกะ ว่าด้วยการระงับอธิกรณ์ ๕.ขุททกวัตถุขันธกะ ว่าด้วยข้อบัญญัติปลีกย่อยจำนวนมาก เช่น การปลงผม ตัดเล็บ ไม้จิ้มฟัน ของใช้ต่างๆ เป็นต้น ๖.เสนาสนขันธกะ ว่าด้วยสังฆเภทและสังฆสามัคคี ๘.วัตตขันธกะ ว่าด้วยวัตรต่างๆ เช่น อาคันตุกวัตร เป็นตน ๙.ปาติโมกขัฏฐปนขันธกะ ว่าด้วยระเบียบในการงดสวดปาฏิโมกข์ในเมื่อภิกษุมีอาบัติติดตัวมาร่วมฟังอยู่ ๑๐.ภิกขุนีขันธกะ ว่าด้วยเรื่องภิกษุณีเริ่มแต่ประวัติการอนุญาตให้มีการบวชครั้งแรก ๑๑.ปัญจสติกขันธกะ ว่าด้วยเรื่องสังคายนาครั้งที่ ๑ ๑๒.สัตตสติกขันธกะ ว่าด้วยสังคายนาครั้งที่ ๒ (พระไตรปิฎกเล่ม ๖-๗); ต่อจาก มหาวรรค
  5. ฟั่นเฝือ : เคลือบคลุม, พัวพันกัน, ปนคละกัน, ยุ่ง
  6. ภังคะ : ผ้าทำด้วยของเจือกัน คือ ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ ฝ้าย ไหม ขนสัตว์ เปลือกป่าน ๕ อย่างนี้ อย่างใดก็ได้ปนกัน เช่น ผ้าด้วนแกมไหม เป็นต้น
  7. มหากัปปินะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นกษัตริย์ครองราชสมบัติในนครกุกกุฏวดีในปัจจันตประเทศ ได้ทราบข่าวการอุบัติของพระพุทธเจาแล้ว บังเกิดปีติศรัทธา สละราชสมบัติทรงม้าเดินทางไกลถึง ๓๐๐ โยชน์มาเฝ้าพระพุทธเจ้า สดับธรรมกถา บรรลุพระอรหัตแล้วได้รับอุปสมบท ส่วนพระอัครมเหสีชื่ออโนชา เมื่อทราบข่าวการอุบัติของพระพุทธเจ้าก็เกิดปีติและศรัทธาเช่นเดียวกัน พระนาง ทรงรถเสด็จมาเฝ้าพระพุทธเจ้า ฟังธรรมบรรลุโสดาปัตติผลแล้ว รับบรรพชาจากพระอุบลวรรณาเถรีไปอยู่ในสำนักภิกษุณี ฝ่ายมหากัปปินเถระชอบอยู่สงบสงัดและมักอุทานว่า สุขจริงหนอ ท่านสามารถแสดงธรรมให้ศิษย์บรรลุอรหัตตผลได้พร้อมคราวเดียวถึง ๑,๐๐๐ องค์ พระบรมศาสดายกย่องท่านว่าท่านเป็นเอตทัคคะในทางให้โอวาทแก่ภิกษุ
  8. สำรวม : ระมัดระวัง, เหนี่ยวรั้ง, ระวังรักษาให้สงบเรียบร้อย เช่น สำรวมตา, สำรวมกาย, ครอง เช่นสำรวมสติ คือครองสติ, ดู สังวร, รวมประสมปนกัน เช่น อาหารสำรวม
  9. สำลาน : สีเหลืองปนแดง
  10. อสีติมหาสาวก : พระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ องค์ บางทีเรียกอนุพุทธ ๘๐ องค์ มีรายนามตามลำดับอักษร ดังนี้ (ที่พิมพ์ตัว เอน คือท่านที่เป็นเอตทัคคะด้วย): กังขาเรวต, กัปป, กาฬุทายี, กิมพิล, กุมารกัสสป, กุณฑธาน, คยากัสสป, ควัมปติ, จุนท, จูฬปันถก, ชตุกัณณิ, ติสสเมตเตยย, โตเทยย, ทัพพมัลลบุตร, โธตก, นทีกัสสป, นันท, นันทก, นันทก, นาคิต, นาลก, ปิงคิย, ปิณโฑลภารทวาช, ปิลินทวัจฉ, ปุณณก, ปุณณชิ, ปุณณมันตานีบุตร, ปุณณสุนาปรันต, โปสาล, พาลุกะ (พักกุละ ก็เรียก), พาหิย ทารุนีริย, ภคุ, ภัททิย (ศากยะ), ภัททิย, ภัทราวุธ, มหากัจจายน, มหากัปปิน, มหากัสสป, มหาโกฏฐิต, มหานาม, มหาปันถก, มหาโมคคัลลาน, เมฆิย, เมตตคู, โมฆราช, ยส, ยโสช, รัฏฐปาล, ราธ, ราหุล, เรวตขทิรวนิย, ลกุณฏกภัททิย, วักกลิ, วังคีส, วัปป, วิมล, สภิย, สาคต, สารีบุตร, สีวลี, สุพาหุ, สุภูติ, เสล, โสณกุฏิกัณณ, โสณโกฬิวิส, โสภิต, เหมก, องคุลิมาล, อชิต, อนุรุทธ, อัญญาโกณทัญญ, อัสสชิ, อานนท, อุทย, อุทายี, อุบาลี, อุปวาณ, อุปสีว, อุปเสนวังคันตบุตร, อุรุเวลกัสสป

ETipitaka Pali-Thai Dict : ปีน, more than 5 found, display 1-5
  1. ปีน : ค. ดู ปีณ
  2. สมารูหติ : ก.ไต่, ปีน, ขึ้น
  3. โกปิน โกปีน : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้, ผ้าปิดของลับ, กรรมที่ไม่ควรทำ, ความลับ, ของลับ. มาตุคาโม ฉวสฺส มาสกรูปสฺส การณา โกปินํ ทสฺสติ. มาตุคาม แสดงของลับ เพราะเหตุปห่งทรัพย์ซึ่งเป็นดุจซากศพ. ไตร. ๓/๓๓.
  4. โกปีน : นป. ของลับ, อวัยวะสืบพันธุ์; กรรมอันไม่สมควร, เปลือกไม้, ใย, ผ้าขาวม้า
  5. โกปีนนิทฺทสนี : ค. เป็นเหตุไม่รู้จักละอาย
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ปีน, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ปีน, 5 found, display 1-5
  1. การตีราคา : อคฺฆาปน [นป.]
  2. กี่, หูกทอผ้า : อาวาปน [ป.นป.]
  3. ไม่หวั่นไหว : อจล, อกมฺปน
  4. สอน : อนุสาสิตฺวา, โอวทิตฺวา, ปริโยทปน
  5. สุบิน, ฝัน : สุปิน

(0.1516 sec)