Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ผู้รับเหมา, ผู้รับ, เหมา , then ผู้รับ, ผู้รับเหมา, หมา, เหม, เหมะ, เหมา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ผู้รับเหมา, 76 found, display 1-50
  1. คาหาปก : ค. ผู้ให้รับ, ผู้ให้ถือ, ผู้จัดแจง, (เสนาสนคาหาปก = ผู้จัดแจงเสนาสนะ); ผู้รับ
  2. ปฏิคฺคห : ป. การรับ, ผู้รับ, การต้อนรับ, เครื่องรองรับ, กระโถน; ปลอกสวมนิ้วมือเมื่อเย็บจีวร
  3. เหม : (ปุ.) เหมะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล วิ. เหมวณฺณตาย เหโม.
  4. จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
  5. ปฏิคฺคหีตุ, - เหตุ : ป. ผู้รับ
  6. ปฏิจฺฉก : ค. ผู้รับ
  7. สมฺปฏิจฺฉก : ค. ผู้รับ
  8. กมฺมทายาท : (วิ.) ผู้รับมรดกของกรรม, ผู้มี กรรมเป็นมรดก.
  9. กายเวยฺยาวฏิก : ค. ผู้รับใช้, ผู้บริการ, ผู้ทำหน้าที่คนรับใช้
  10. ฐานิก : ค. ผู้มีฐานะ, ผู้รับตำแหน่ง
  11. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  12. ทายาท : (วิ.) ผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อัน...พึงให้, ผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้, ผู้รับมรดก. วิ. ทายํ ทาตพฺพํ อาททาติ คณฺหาตีติ ทายาโท. ทาย อา ปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. โมศฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๙.
  13. ทายาท, - ทก : ป., ค. ทายาท, บุคคลผู้รับมรดก; ผู้รับมรดก
  14. ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
  15. ธุรนฺธร : ค. ผู้ทรงไว้ซึ่งธุรการงาน, ผู้รับภาระหน้าที่, ผู้รับผิดชอบการงาน
  16. ธุรวนฺตุ : ค. ผู้มีธุรการงาน, ผู้รับภาระหน้าที่
  17. ปฏิคฺคณฺหนก : ค. ผู้รับ, ผู้รับเอา, ซึ่งรองรับไว้
  18. ปฏิคฺคาหก : ค., ป. ผู้รับ, ผู้ยอมรับ, ผู้ถือเอา; ปฏิคาหก
  19. ปฏิสฺสาวี : ค. ผู้รับคำ, ผู้ยอมฟังคำ, ผู้ยินยอม, ผู้เต็มใจ, ผู้เชื่อฟัง
  20. ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
  21. ปรเปสฺส : ค. ผู้ถูกผู้อื่นส่งไป, ผู้รับใช้คนอื่น, ผู้เป็นทูต
  22. ปริจารก : ค., ป. ผู้รับใช้, คนใช้
  23. ปาฏิโภค : ป. ผู้ประกัน, ผู้รับรอง, การประกัน, การรับรอง
  24. พฺรหฺมทายาท : ป. ทายาทแห่งพรหม, ผู้รับมรดกอันประเสริฐ
  25. พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี
  26. พุชฺฌนก : ค. ผู้รู้, ผู้เข้าใจ, ผู้รับรู้, ผู้ตื่น
  27. ภชก : (วิ.) ผู้คบ, ผู้เสพ, ผู้รับใช้, ผู้คุ้นเคย. ภชฺ เสวายํ วิสฺสเส จ. ณฺวุ.
  28. รฏฺฐมนฺตี : (ปุ.) คนมีความคิดของบ้านเมือง, คนมีความรู้ของบ้านเมือง, รัฐมนตรี ชื่อบุคคลผู้รับ ผิดชอบในนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน และเป็นที่ปรึกษาการบ้านเมือง ผู้เป็นหัวหน้าเป็นใหญ่ในกระทรวง.
  29. เวยฺยาวฏิก : ป. ผู้รับใช้
  30. สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
  31. สาสนทายาท : (ปุ.) บุคคลผู้รับมรดกในศาสนา, บุคคลผู้สืบอายุศาสนา, บุคคลผู้สืบศาสนา.
  32. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  33. อุตฺตราธิการี : ค. ผู้เป็นทายาท, ผู้รับมรดก
  34. อุปฏฐาก : ป. อุปัฏฐาก, ผู้รับใช้, ผู้บำรุง, ผู้ปฏิบัติ
  35. อุปฏฺฐาก : (วิ.) ผู้อุปถัมภ์, ผู้บำรุง, ผู้รับใช้. ณฺวุ ปัจ.
  36. อุปเสวี : ค. ผู้ซ่องเสพ, ผู้คบหา, ผู้รับใช้
  37. เอหิภทนฺติก : ค. ผู้รับคำเชิญ
  38. เหมชาล : นป.ข่ายทอง
  39. เหมวณฺณ : ค. มีสีทอง
  40. สุณ : (ปุ.) สุนัข, หมา, หมาใน. วิ. สามิกสฺส วจนํ สุณาตีติ สุโณ. สุ สวเน, ยุ.แปลง น เป็น ณ, อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ แปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณ.
  41. ปุพฺพาสาฬฺห ปุพฺพาสาฬฺหมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยอาสาฬหฤกษ์เบื้อง ต้น, เดือนแปดแรก, เดือนแปดก่อน, เดือนแปดต้น.
  42. โลหมาสก : ป. เหรียญทองแดง
  43. อมุยฺหมาน : กิต. ไม่งมงาย, ไม่หลงลืม
  44. กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทายเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเคยฺย ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.
  45. ทีฆสุรต : (ปุ.) สัตว์ผู้ยินดีในกาลหลับนานใน เวลากลางวัน, สุนัข, หมา. ทิว+ทีฆ+สุป+รต ลบ ทิว และ ป.
  46. มิคสก : (ปุ.) หมา วิ. มิคํ สกตีติ มิคสโก (ผู้สามารถจับหรือฆ่าเนื้อ), สกฺ สตฺติยํ, อ.
  47. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  48. สุน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ. ส. ศุน.
  49. สุนข : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุนข ยังมีนัยอื่นอีก ดู สุณข เทียบ. ศ. ศุนก.
  50. สุวาณ สุวาน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, โณ, อุสฺส อุวาเทโส. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้งสุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุวาน.
  51. [1-50] | 51-76

(0.0752 sec)