Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พจน์ , then พจน, พจน์ .

Eng-Thai Lexitron Dict : พจน์, 2 found, display 1-2
  1. inflect : (VI) ; ผันไปตามบุรุษและพจน์ (ทางไวยากรณ์)
  2. hyperbole : (N) ; คำพูดที่พูดเกินความจริง ; Related:อธิพจน์

Thai-Eng Lexitron Dict : พจน์, 15 found, display 1-15
  1. พจน์ : (N) ; word ; Related:speech, saying, diction ; Syn:ถ้อยคำ, วจนะ, คำกล่าว ; Samp:พระพุทธพจน์ของพระพุทธเจ้าสอนให้ทำความดี ละเว้นความชั่ว ทำจิตใจให้บริสุทธิ์
  2. อาศิรพจน์ : (N) ; blessings ; Related:greetings, compliment ; Syn:อาศิรพาท, อาศิรวจนะ, อาศิรวาท, อาเศียรพจน์, อาเศียรพาท, อาเศียรวจนะ, อาเศียรวาท, คำอวยพร
  3. ตู่พุทธพจน์ : (V) ; refer mistakenly the Buddha's teaching ; Related:to express the Buddha's words incorrectly ; Def:อ้างพุทธพจน์ผิดๆ ถูกๆ
  4. มธุรพจน์ : (N) ; honeyed words ; Related:sweet language, sweet words ; Syn:ถ้อยคำไพเราะ, คำหวาน, วาจาไพเราะ ; Samp:มธุรพจน์ย่อมทำให้ผู้ฟังชื่นบาน
  5. พหุพจน์ : (N) ; plural number ; Related:plural ; Syn:พหูพจน์, จำนวนพหูพจน์ ; Ant:เอกพจน์ ; Def:คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง ; Samp:โดยปกติการทำคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ในภาษาอังกฤษให้เติม s ข้างท้าย
  6. อติพจน์ : (N) ; hyperbole ; Def:คำพูดที่ขยายเกินความจริง
  7. พหูพจน์ : (N) ; plural number ; Related:plural number ; Syn:พหุพจน์ ; Ant:เอกพจน์ ; Def:คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง ; Samp:คำว่า class เป็นคำที่มีลักษณะพหูพจน์ หมายถึงกลุ่มคน
  8. สมการ : (N) ; (algebraic) equation ; Def:ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ 2 นิพจน์ เฉพาะบางค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้นๆ หรือการเหมือนกันของข้อความย่อย 2 ข้อความที่ปรากฏอยู่ทางด้านซ้ายและด้านขวาของเครื่องหมาย = ; Samp:ภาษาที่มนุษย์ใช้มีลักษณะเป็นคำพูด หรือเป็นสมการในการคำนวณ แบบเดียวกับที่ใช้ในวิชาพีชคณิต
  9. เอกลักษณ์ : (N) ; identity ; Def:ข้อความที่แสดงความเท่ากันของนิพจน์ 2 นิพจน์ สำหรับทุกค่าของตัวไม่ทราบค่าที่ปรากฏในนิพจน์นั้นๆ
  10. ตามกฎหมาย : (ADV) ; according to law ; Related:according to the law, legally ; Syn:โดยชอบด้วยกฎหมาย ; Def:ถูกต้องตามกฎหมาย ; Samp:หนังสือลาออกของนายพรพจน์ยังไม่ทันมีผลตามกฎหมาย เรื่องราวก็จบลงเสียก่อน
  11. ผิวคล้ำ : (ADJ) ; dark ; Related:dark-skinned, coloured ; Samp:คุณพจน์เป็นคนผิวคล้ำ สูง ผมหยักศก และก็หล่อเกือบจะเท่าพระเอกหนัง
  12. สมาร์ท : (V) ; smart ; Related:elegant, stylish, dashing ; Syn:โก้, ผึ่งผาย ; Samp:ดวงดอมเจอชายผู้นี้ทีไรก็หวนคิดถึงคุณพจน์ ผู้ชายสูงและสมาร์ท
  13. หยักศก : (ADJ) ; slightly curly ; Syn:หยักโศก ; Ant:เหยียดตรง ; Def:ที่หยิกน้อยๆ (ใช้แก่ผม) ; Samp:คุณพจน์เป็นคนสูง ผิวคล้ำ ผมหยักศก ตัวใหญ่

Royal Institute Thai-Thai Dict : พจน์, more than 5 found, display 1-5
  1. พจน, พจน์ : [พดจะนะ, พด] น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป. วจน).
  2. พจน์ : (คณิต) น. สัญลักษณ์ที่แทนจํานวนจริงหรือจํานวนเชิงซ้อน ซึ่งจะ เป็นจํานวนเดียวหรือหลายจํานวนคูณหรือหารกันก็ได้. (อ. term).
  3. พจนา : ดู พจน, พจน์.
  4. พจนานุกรม : ดู พจน, พจน์.
  5. พจนารถ : ดู พจน, พจน์.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : พจน์, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : พจน์, more than 5 found, display 1-5
  1. พหุพจน์ : คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง คือตั้งแต่ ๒ สิ่งขึ้นไป, เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์บาลีและไทย คู่กับเอกพจน์ ซึ่งกล่าวถึงสิ่งเดียว; แต่ในไวยากรณ์สันสกฤต จำนวน ๒ เป็นทวิพจน์หรือทวีวจนะ จำนวน ๓ ขึ้นไปจึงจะเป็นพหุพจน์
  2. สิลิฏฐพจน์ : คำสละสลวย, คำไพเราะ, ได้แก่คำควบกับอีกคำหนึ่งเพื่อให้ฟังไพเราะในภาษา หาได้มีใจความพิเศษออกไปไม่ เช่น คำว่าคณะสงฆ์ คณะก็คือสงฆ์ซึ่งแปลว่าหมู่ หมายถึงหมู่แห่งภิกษุจำนวนหนึ่ง “คณะ” คำนี้เรียกว่าเป็นสิลิฏฐพจน์ ในภาษาไทยเรียกว่าคำติดปาก ไม่ได้เพ่งเนื้อความ
  3. พุทธพจน์ : พระดำรัสของพระพุทธเจ้า, คำพูดของพระพุทธเจ้า
  4. พุทธาณัติพจน์ : พระดำรัสสั่งของพระพุทธเจ้า, คำสั่งของพระพุทธเจ้า
  5. สุคตาณัตติพจน์ : พระดำรัสสั่งของพระสุคต
  6. Budhism Thai-Thai Dict : พจน์, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : พจน์, 10 found, display 1-10
  1. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  2. เตปิฏก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งหมวดแห่งปิฏกสาม วิ. ติปิฏกราสึ ธาราตีติ เตปิฏโก. ผู้ทรงไว้ ซึ่งปิฏกสาม วิ. ติปิฏกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก. ผู้ทรงไว้ซึ่งพระพุทธพจน์คือหมวดแห่ง ปิฏกสาม วิ. เตปิฏกํ เอว พุทฺธวจนํ ธาเรตีติ เตปิฏโก. เตปิฏกพุทฺธวจนํ ธาเรตีติ วา เตปิฏโก. ผู้ทรงไว้ซึ่งหมวดสามแห่งปิฏก วิ. ปิฏกสฺส ติกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก. เตปิฏกํ ธาเรตีติ วา เตปิฏโก.
  3. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  4. พุทฺธวจน : นป. พระพุทธพจน์, พระดำรัสหรือคำสอนของพระพุทธเจ้า
  5. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  6. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  7. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  8. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  9. อพฺภูตธมฺม : (ปุ.) ธรรมน่าอัศจรรย์, อัพภูตธรรม(พระพุทธพจน์อันประกอบแล้วในธรรมไม่เคยเป็นเป็นแล้ว)ชื่อองฺค์ที่๘ของนวังค-สัตถุสาสน์.
  10. อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : พจน์, not found

(0.1485 sec)