Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: พ้อง , then พอง, พ้อง .

Eng-Thai Lexitron Dict : พ้อง, more than 7 found, display 1-7
  1. coincide : (VI) ; พ้องกัน (ความคิด) ; Related:ตรงกัน, เหมือนกัน, ต้องกัน ; Syn:correspond, agree, accord, match, tally, jibe, square, concur, harmonise, harmonize, admit, resemble ; Ant:differ, contradict
  2. coincident : (ADJ) ; พ้องกัน ; Related:ต้องกัน, สอดคล้องกัน ; Syn:coinciding
  3. acceptance : (N) ; การเห็นพ้องกับ ; Related:การเห็นด้วยกับ ; Syn:agreement
  4. acquiesce in : (PHRV) ; เห็นพ้องกับ ; Related:เห็นด้วยกับ, เห็นด้วย ; Syn:agree to
  5. acquiesce to : (PHRV) ; เห็นพ้องกับ ; Related:เห็นด้วยกับ, เห็นด้วย ; Syn:agree to
  6. against someone's will : (IDM) ; ปราศจากความเห็นพ้อง
  7. agree about : (PHRV) ; เห็นพ้องกับ ; Related:เห็นด้วย ; Syn:agree on
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : พ้อง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : พ้อง, more than 7 found, display 1-7
  1. พ้อง : (V) ; be identical ; Related:be alike, coincide, be the same ; Syn:ตรง, เหมือน, ซ้ำ ; Ant:ต่าง, ตรงข้าม ; Def:ตรงกัน, เหมือนกัน, ซ้ำกัน ; Samp:ข้อความในกระดาษหน้านี้พ้องกับอีกหน้าหนึ่ง
  2. พ้องต้องกัน : (V) ; be identical ; Related:be the same ; Syn:พ้องกัน, ต้องกัน, ตรงกัน ; Ant:ต่างกัน, แตกต่างกัน ; Samp:ของอย่างนี้มันพ้องต้องกันได้ เพราะใครต่างก็ซื้อมาใช้เหมือนกัน
  3. พ้องกัน : (ADJ) ; synonymous ; Syn:คล้องจองกัน ; Def:ที่ตรงกันหรือประจวบเหมือนกัน, ที่ไม่ขัดกัน ; Samp:ความหมายที่พ้องกันของเจดีย์กับสถูปทำให้คนไทยเกิดใช้ปะปนกัน
  4. พ้องกัน : (V) ; reach unanimity of ; Syn:คล้องจองกัน ; Def:ตรงกันหรือประจวบเหมือนกัน, ไม่ขัดกัน ; Samp:ความเห็นของเราพ้องกันเลยตกลงกันง่ายขึ้น
  5. เห็นพ้อง : (V) ; agree ; Related:be in accord with, see things the same way (as), be unanimous ; Syn:เห็นตาม, เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน ; Ant:คัดค้าน, ค้าน ; Samp:บุคคลทั้งสองเห็นพ้องกันว่า พล.อ.เทียนชัยแบ่งงานอย่างเผด็จการและไม่มีหลักเกณฑ์
  6. เห็นพ้อง : (V) ; agree ; Related:be in accord with, see things the same way (as), be unanimous ; Syn:เห็นตาม, เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน ; Ant:คัดค้าน, ค้าน ; Samp:บุคคลทั้งสองเห็นพ้องกันว่า พล.อ.เทียนชัยแบ่งงานอย่างเผด็จการและไม่มีหลักเกณฑ์
  7. เล่นพวกเล่นพ้อง : (V) ; play favoritism ; Related:favour one's friends ; Syn:เล่นพวก, เล่นพรรคเล่นพวก ; Def:ถือเอาพวกพ้องของตนเป็นใหญ่และสำคัญ ; Samp:ีเขามักจะเล่นพวกเล่นพ้องเสมอ ใครๆ ก็รู้
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : พ้อง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : พ้อง, more than 5 found, display 1-5
  1. พ้อง : ว. ต้องกัน, ตรงกัน, ซํ้ากัน, เช่น พ้องรูป พ้องเสียง พ้องความ เห็นพ้องด้วย ชื่อพ้องกัน.
  2. คำพ้องเสียง : น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมี ความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์.
  3. เล่นพรรคเล่นพวก, เล่นพวก, เล่นพวกเล่นพ้อง : ก. ถือพวกพ้องเป็นใหญ่ หรือสำคัญ.
  4. พอง : ก. อาการที่โป่งหรือฟูขึ้นมาเพราะมีอากาศหรือน้ำเป็นต้นอยู่ภายใน เช่น ลูกโป่งพองลม ถูกน้ำร้อนลวกหนังพอง เหยียบไฟเท้าพอง, ทำให้โป่ง ฟู หรือตั้งขึ้น เช่น อึ่งอ่างพองตัว เป่าลูกโป่งให้พอง เป่า ปี่จนแก้มพอง ลิงพองขน แมวทำขนพอง; ขยายตัวให้โตขึ้นเช่น เห็ดหูหนูเมื่อแช่น้ำย่อมพองตัว ข้าวตังเมื่อเอาไปทอดก็จะพอง.
  5. คำพ้องความ : น. คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือ ใกล้เคียงกันมาก เช่น โคกับวัว ควายกับกระบือ มนุษย์กับคน, ไวพจน์ ก็ว่า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : พ้อง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : พ้อง, 6 found, display 1-6
  1. ทุลลภธรรม : สิ่งที่ได้ยาก, ความปรารถนาของคนในโลกที่ได้สมหมายโดยยาก มี ๔ คือ ๑.ขอโภคสมบัติจงเกิดมีแก่เราโดยทางชอบธรรม ๒.ขอยศจงเกดมีแก่เรากับญาติพวกพ้อง ๓.ขอเราจงรักษาอายุอยู่ได้ยืนนาน ๔.เมื่อสิ้นชีพแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์ ; ดู ธรรมเป็นเหตุให้สมหมาย ด้วย
  2. ปรัมปรโภชน์ : โภชนะทีหลัง คือ ภิกษุรับนิมนต์ในที่แหงหนึ่งด้วยโภชนะทั้ง ๕ อย่างใดอย่างหนึ่งแล้วไม่ไปฉันในที่นิมนต์นั้น ไปฉันเสียในที่อื่นที่เขานิมนต์ทีหลังซึ่งพ้องเวลากัน
  3. พันธุ์ : เหล่ากอ, พวกพ้อง
  4. สุภัททะ วุฒบรรพชิต : “พระสุภัททะผู้บวชเมื่อแก่” ซึ่งเป็นต้นเหตุแห่งการปรารภที่จะทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ก่อนบวช เป็นช่างตัดผมในเมืองอาตุมา มีบุตรชาย ๒ คน เมื่อบวชแล้วคราวหนึ่งได้ข่าวว่าพระพุทธเจ้าพร้อมด้วยสงฆ์หมู่ใหญ่จะเสด็จมายังเมืองอาตุมา จึงให้บุตรทั้ง ๒ เอาเครื่องมือตัดผมออกไปเที่ยวขอตัดผมตามบ้านเรือนทุกแห่ง แลกเอาเครื่องปรุงยาคูมาได้มากมาย แล้วบัญชาการให้ผู้คนจัดเตรียมข้าวยาคูไว้เป็นอันมาก เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมาถึง ก็นำเอาข้าวยาคูนั้นเข้าไปถวาย พระพุทธเจ้าตรัสถาม ทรงทราบความว่าพระสุภัททะได้ข้าวนั้นมาอย่างไรแล้ว ไม่ทรงรับและทรงติเตียน แล้วทรงบัญญัติสิกขาบท ๒ ข้อ คือ บรรพชิตไม่พึงชักชวนคนทำในสิ่งที่เป็นอกัปปิยะ และภิกษุผู้เคยเป็นช่างกัลบกไม่พึงเก็บรักษาเครื่องตัดโกนผมไว้ประจำตัว จากการที่ได้ถูกติเตียนและเสียของเสียหน้าเสียใจ ในเหตุการณ์ครั้งนั้น พระสุภัททะก็ได้ผูกอาฆาตไว้ ต่อมา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้วได้ ๗ วัน พระสุภัททะร่วมอยู่ในคณะของพระมหากัสสปเถระ ซึ่งกำลังเดินทางจากเมืองปาวาสู่เมืองกุสินารา ระหว่างทางนั้น คณะได้ทราบข่าวพุทธปรินิพพานจากอาชีวกผู้หนึ่ง ภิกษุทั้งหลายที่ยังไม่สิ้นราคะ (คือพระปุถชน โสดาบัน และสกทาคามี) พากันร้องไห้คร่ำครวญเป็นอันมาก ในขณะนั้นเอง พระสุภัททะวุฒบรรพชิต ก็ร้องห้ามขึ้นว่า “อย่าเลย ท่านผู้มีอายุ พวกท่านอย่าเศร้าโศก อย่าร่ำไห้ไปเลย พวกเราพ้นดีแล้ว พระมหาสมณะนั้นคอยเบียดเบียนพวกเราว่าสิ่งนี้ควรแก่เธอ สิ่งนี้ไม่ควรแก่เธอ บัดนี้พวกเราปรารถนาสิ่งใด ก็จักกระทำสิ่งนั้น” พระมหากัสสปเถระได้ฟังแล้วเกิดธรรมสังเวช ดำริว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานเพียง ๗ วัน ก็ยังเกิดเสี้ยนหนามขึ้นแล้วในพระศาสนา หากต่อไปคนชั่วได้พวกพ้องมีกำลังเติบกล้าขึ้น ก็จะทำพระศาสนาให้เสื่อมถอย ดังนั้น หลังจากเสร็จงานถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระแล้ว ท่านจึงได้ยกถ้อยคำของสุภัททะวุฒบรรพชิต นี้ขึ้นเป็นข้อปรารภ ชักชวนพระเถระทั้งหลายร่วมกันทำสังคายนาครั้งแรก
  5. อสุภ : สภาพที่ไม่งาม, พิจารณาร่างกายของตนและผู้อื่นให้เห็นสภาพที่ไม่งาม; ในความหมายเฉพาะ หมายถึงซากศพในสภาพต่างๆ ซึ่งใช้เป็นอารมณ์กรรมฐาน รวม ๑๐ อย่าง คือ ๑) อุทธุมาตกะ ซากศพที่เน่าพอง ๒) วินีลกะ ซากศพที่มีสีเขียวคล้ำ ๓) วิปุพพกะ ซากศพที่มีน้ำเหลืองไหลออกอยู่ ๔) วิจฉิททกะ ซากศพที่ขาดกลางตัว ๕) วิกขายิตกะ ซากศพที่สัตว์กัดกินแล้ว ๖) วิกขิตตกะ ซากศพที่มีมือ เท้า ศีรษะขาด ๗) หตวิกขิตตกะ ซากศพที่คนมีเวรเป็นข้าศึกษกัน สับฟันเป็นท่อนๆ ๘) โลหิตกะ ซากศพที่ถูกประหารด้วยศัสตรามีโลหิตไหลอาบอยู่ ๙) ปุฬุวกะ ซากศพที่มีตัวหนอนคลานคล่ำไปอยู่ ๑๐) อัฏฐิกะ ซากศพที่ยังเหลืออยู่แต่ร่างกระดูก
  6. อสุภะ : สภาพที่ไม่งาม, พิจารณาร่างกายของตนและผู้อื่นให้เห็นสภาพที่ไม่งาม; ในความหมายเฉพาะ หมายถึงซากศพในสภาพต่างๆ ซึ่งใช้เป็นอารมณ์กรรมฐาน รวม ๑๐ อย่าง คือ ๑) อุทธุมาตกะ ซากศพที่เน่าพอง ๒) วินีลกะ ซากศพที่มีสีเขียวคล้ำ ๓) วิปุพพกะ ซากศพที่มีน้ำเหลืองไหลออกอยู่ ๔) วิจฉิททกะ ซากศพที่ขาดกลางตัว ๕) วิกขายิตกะ ซากศพที่สัตว์กัดกินแล้ว ๖) วิกขิตตกะ ซากศพที่มีมือ เท้า ศีรษะขาด ๗) หตวิกขิตตกะ ซากศพที่คนมีเวรเป็นข้าศึกษกัน สับฟันเป็นท่อนๆ ๘) โลหิตกะ ซากศพที่ถูกประหารด้วยศัสตรามีโลหิตไหลอาบอยู่ ๙) ปุฬุวกะ ซากศพที่มีตัวหนอนคลานคล่ำไปอยู่ ๑๐) อัฏฐิกะ ซากศพที่ยังเหลืออยู่แต่ร่างกระดูก

ETipitaka Pali-Thai Dict : พ้อง, more than 5 found, display 1-5
  1. กมฺมพนฺธุ : (วิ.) มีกรรมเป็นพวกพ้อง, มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์.
  2. ญาณพนฺธุ : ป. พวกพ้องญาณ
  3. ทฺวิพนฺธุ : ค. ผู้มีพวกพ้องสอง, ผู้มีเพื่อนสองคน
  4. ปฏิพนฺธุ : ป. ความเกี่ยวข้อง, ความพัวพัน; พวกพ้อง, ญาติ
  5. พนฺธุ : (ปุ.) พวกพ้อง, พงศ์, พงศ์พันธุ์, ญาติ, ญาติพี่น้อง, วงศ์, วงศ์วาน. วิ. พนฺธตีติ พนฺธุ. พนฺธียติ สิเนหภาเวนาติ วา พนฺธุ. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, ณุ วา. อตฺตนิ ปรํ พนฺธตีติ วา พนฺธุ. อยํ อมุหากํ วํโสติ สมฺพนฺธิตพฺพฏฺเฐน เปมพนฺธเนน พนฺธตีติ วา พนฺธุ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : พ้อง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : พ้อง, 1 found, display 1-1
  1. พวกพ้อง : พนฺธุ

(0.1148 sec)