Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษามนุษย์, มนุษย์, ภาษา , then ภาษ, ภาษา, ภาษามนุษย์, ภาสา, มนษย, มนุษย์ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษามนุษย์, more than 7 found, display 1-7
  1. earthling : (N) ; มนุษย์ ; Related:มนุษย์เดินดิน, คนธรรมดาสามัญ ; Syn:earthman, human being
  2. earth : (N) ; มนุษย์ ; Related:มวลมนุษย์, คนที่อาศัยอยู่บนโลก
  3. earthman : (N) ; มนุษย์ ; Related:คน, มนุษย์โลก ; Syn:earthling, human being
  4. flesh and blood : (IDM) ; มนุษย์ ; Related:คนที่มีชีวิต
  5. human : (N) ; มนุษย์ ; Related:คน, คนเรา
  6. human being : (N) ; มนุษย์ ; Related:คน
  7. language : (N) ; ภาษา ; Syn:speech, dialect
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ภาษามนุษย์, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษามนุษย์, more than 7 found, display 1-7
  1. ภาษามนุษย์ : (N) ; human language ; Syn:ภาษา ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, คำพูด, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:นักภาษาศาสตร์คือผู้ที่ศึกษาภาษามนุษย์โดยไม่จำกัดว่าเป็นภาษาอะไร
  2. ภาษาคน : (N) ; human speech ; Related:human tongue, human language ; Syn:ภาษามนุษย์ ; Ant:ภาษาสัตว์ ; Samp:สัตว์ที่ถูกฝึกดีมักจะฟังภาษาคนรู้เรื่อง ; Unit:ภาษา
  3. มนุษย์ : (N) ; human ; Related:human being, man or woman, creature, mortal ; Syn:สามัญชน, บุคคล, คน, ปุถุชน ; Def:สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูงแต่ยังมีกิเลส ; Samp:มนุษย์ในอนาคต เป็นมนุษย์ที่มีโอกาสเรียนทุกอย่างที่อยากจะเรียนได้โดยไม่มีวันสิ้นสุด ; Unit:คน
  4. ภาษา : (N) ; language ; Related:speech, words ; Syn:คำพูด ; Def:เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดกัน ; Samp:ปัญหาชายแดนภาคใต้มีสาเหตุมาจากความไม่เข้าใจซึ่งกันและกันในเรื่องของภาษา ระหว่างไทยพุทธ และคนมุสลิม
  5. ภาษาปาก : (N) ; colloquialism ; Related:colloquial expression, spoken language ; Syn:ภาษาพูด ; Def:ภาษาหรือระเบียบคำที่พูดกันธรรมดาโดยไม่ได้เคร่งครัดกับไวยากรณ์อย่างภาษาหนังสือ ; Samp:ภาษาที่เราใช้พูดในชีวิตประจำวันเป็นภาษาปากที่ไม่ต้องพิถีพิถันเลือกใช้คำมากนัก ; Unit:ภาษา
  6. ภาษาเขียน : (N) ; written language ; Syn:ภาษาทางการ, ภาษาสุภาพ ; Def:ภาษาที่ใช้ในงานเขียนซึ่งเป็นทางการมากกว่าภาษาพูด ; Samp:เขาใช้ภาษาเขียนมากเกินกว่าเหตุไปหลายครั้งทำให้เรื่องไม่มีสีสันเท่าไหร่ ; Unit:ภาษา
  7. ภาษาถิ่น : (N) ; dialect ; Related:regional speech, localism, vernacular ; Syn:ภาษาย่อย ; Def:ภาษาที่มีสำเนียงพูดหรือคำศัพท์ที่แตกต่างกันไปตามผู้ใช้ที่อยู่ในถิ่นนั้นๆ เช่น ภาษาถิ่นเหนือ ; Samp:นักศึกษาจะเรียนรู้ภาษาถิ่นได้ดี ก็ต่อเมื่อเข้าไปอยู่ในถิ่นนั้นจริงๆ ; Unit:ภาษา
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ภาษามนุษย์, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษามนุษย์, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาษา : น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษา ราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยา อาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและ แต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษา จาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา.
  2. มนุษย-, มนุษย์ : [มะนุดสะยะ-, มะนุด] น. สัตว์ที่รู้จักใช้เหตุผล, สัตว์ที่มีจิตใจสูง, คน. (ส.; ป. มนุสฺส).
  3. กราว ๓ : [กฺราว] น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์ ใช้ในเวลายกทัพหรือแสดงอาการร่าเริง, ครั้นมีเพลงกราวอื่น ๆ ด้วย เพลงนี้เรียกว่า กราวใน, ต่อนี้ทําบทเชิด, ถ้ามีการพากย์ เช่น พากย์รถก่อนยกทัพออก ทําเพลงกราวในหยุด หมายความว่าสุดเจรจาแล้วใช้กราวในพอหยุดป้องหน้าแล้วจึงพากย์, สําหรับบทของมนุษย์ ลิง หรือเทวดา เปลี่ยนเป็น กราวนอก ใช้เป็นเพลงประจํากัณฑ์มหาราชในเวลามีเทศน์มหาชาติ และเรียกว่า กราวเขน ก็ได้ เพราะเมื่อยกกองทัพ พวกเขนออกก่อน, ถ้าเกี่ยวกับการรําเยาะเย้ยใช้เพลง กราวรำ, อาณัติสัญญาณลาโรง ก็ใช้เพลงนี้, เมื่อประสมลูกฆ้องมอญเป็น กราวรำมอญ, นอกนี้ถ้าประสมลูกฆ้องใน ๑๒ ภาษา ก็มีชื่อตามภาษานั้น ๆ คือ กราวกระแซ เจือไปข้างเพลงลาว ๆ, กราวเขมร มีเนื้อร้อง เป็นเพลงเขมร, กราวจีน ทําในเวลาเข้าเฝ้าหรือเดินเล่นหรือ เล่นสนุกกัน ทํานองเป็นเพลงจีน ๒ ชั้น.
  4. ภาษาคำควบมากพยางค์ : น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบ หน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาว หลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. (อ. polysynthetic language).
  5. ภาษาคำโดด : น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยน แปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่อง กับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำ สองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. (อ. isolating language).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ภาษามนุษย์, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ภาษามนุษย์, more than 5 found, display 1-5
  1. มนุษย์ : “ผู้มีใจสูง” ได้แก่คนผู้มีมนุษย์ธรรม เช่น เมตตา กรุณา เป็นต้น, สัตว์ที่รู้จักคิดเหตุผล, สัตว์ที่มีใจสูง, คน
  2. ภาษา : เสียงหรือกิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจซึ่งกันและกันได้, ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน, คำพูด
  3. ภาษามคธ : ภาษาที่ใช้พูดในแคว้นมคธ, ภาษาของชาวแคว้นมคธ หมายถึง ภาษาบาลี
  4. มนุษย์วิบัติ : มีความเป็นมนุษย์บกพร่อง เช่น คนที่ถูกตอน เป็นต้น
  5. บอกวัตร : บอกข้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนา เมื่อทำวัตรเย็นเสร็จแล้ว ภิกษุรูปเดียวเป็นผู้บอก อาจใช้วิธีหมุนเวียนกันไปทีละรูป ข้อความที่บอกว่าเป็นภาษาบาลี กล่าวถึงปฏิบัติบูชา คาถาโอวาทปาฏิโมกข์ คุณานิสงส์แห่งขันติธรรม คำเตือนให้ใส่ใจในธรรมในเมื่อได้มีโอกาสเกิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธศาสนา ความไม่ประมาท เร่งเพียรพยายามในทางธรรมเพื่อน้อมไปสู่พระนิพพาน และพ้นจากทุคติ แล้วกล่าวถึงพุทธกิจประจำวัน ๕ ประการ ลำดับกาลใจพระพุทธประวัติ สิ่งแทนพระองค์ภายหลังพุทธปรินิพพาน ชื่อ วัน เดือน ปี และดาวนักษัตร ๒๗ จบลงด้วยคำเชื้อเชิญให้ตั้งอยู่ในพระพุทธโอวาท บำเพ็ญปฏิบัติบูชา เพื่อบรรลุสมบัติทั้งที่เป็นโลกิยะและโลกุตตระ; ธรรมเนียมนี้ บัดนี้ เลือนลางไปแล้ว
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ภาษามนุษย์, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษามนุษย์, more than 5 found, display 1-5
  1. ภาสา : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  2. ทิปท : ป. สัตว์สองเท้า, มนุษย์
  3. นร : (ปุ.) คน, บุคคล, มนุษย์, สัตวโลก, บุรุษ, ชาย, นระ, นรชน, นาย. วิ เนตีติ นโร. นิ นี นยเน, อโร. นรตีติ วา นโร. นร นยเน, อ. ที่เป็นพหุ. แปลว่าประชาชน. ส. นร, นฤ.
  4. นิรุตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องนำออก, ภาษา, คำพูด. ติปัจ.
  5. โปส : (ปุ.) สัตว์, มนุษย์, บุคคล, บุทคล, คน, บุรุษ, ชาย, ผู้ชาย. ปุสฺ โปสเน, โณ. ปุรฺ ปูรเณ วา, โส, อุสฺโสตฺตํ, รฺโลโป.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษามนุษย์, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภาษามนุษย์, 5 found, display 1-5
  1. มนุษย์ : มนุสฺโส
  2. รู้ภาษาบาลี : ปาลิภาสาชนนกา
  3. ผู้ฉลาดในภาษา : นิรุตฺติกุสโล
  4. อนุรักษ์ภาษาไทย : ทยฺยภาสารกฺข
  5. สันสฤต : สกฺกฏภาษา

(0.2293 sec)