Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภิท , then ภท, ภิท, ภิทะ .

Eng-Thai Lexitron Dict : ภิท, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : ภิท, 2 found, display 1-2
  1. ธรรมปฏิสัมภิท : (N) ; discrimination of ideas ; Related:analytic insight of origin ; Def:ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง
  2. ภินท์ : (V) ; destroy ; Related:break, split ; Syn:แตก, ทำลาย, ภิท ; Samp:เขาเคยคิดที่จะเขียนนวนิยายเรื่องสนธยาที่เกาะยอแต่ความฝันได้ภินท์พังไปแล้ว

Royal Institute Thai-Thai Dict : ภิท, 6 found, display 1-6
  1. ภิทะ, ภินท–, ภินท์ : [พินทะ–] ก. แตก, ทําลาย. (ป., ส.).
  2. ธรรมปฏิสัมภิท : น. ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความ เข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้. (ป.).
  3. นิรุตติปฏิสัมภิท : น. ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉาน ในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด. (ป.).
  4. ปฏิภาณปฏิสัมภิท : [ปะติพานะ-] น. ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที. (ป.).
  5. ปฏิสัมภิท : (แบบ) น. ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน, มี ๔ อย่าง คือ อรรถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณ ปฏิสัมภิทา. (ป.).
  6. อรรถปฏิสัมภิท : [อัดถะ] น. ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉานในอรรถ คือ ความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไป จากเหตุ, ความเข้าใจอธิบายอรรถแห่งภาษิตย่อให้พิสดาร. (ป.).

Budhism Thai-Thai Dict : ภิท, 9 found, display 1-9
  1. ธัมมปฏิสัมภิท : ปัญญาแตกฉานในธรรม, เห็นคำอธิบายพิสดาร ก็สามารถจับใจความมาตั้งเป็นหัวข้อได้ เห็นผลก็สืบสาวไปหาเหตุได้ (ข้อ ๒ ใน ปฏิสัมภิทา ๔)
  2. นิรุตติปฏิสัมภิท : ปัญญาแตกฉานในภาษา คือเข้าใจภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดทั้งรู้ภาษาต่างประเทศ (ข้อ ๓ ในปฏิสัมภิทา ๔)
  3. ปฏิภาณปฏิสัมภิท : ความแตกฉานในปฏิภาณได้แก่ไหวพริบ คือ โต้ตอบปัญหาเฉพาะหน้าได้ทันท่วงที หรือแก้ไขเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ฉับพลันทันการ (ข้อ ๔ ในปฏิสัมภิทา ๔)
  4. ปฏิสัมภิท : ความแตกฉาน, ความรู้แตกฉาน, ปัญญาแตกฉาน มี ๔ คือ ๑.อัตถปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในอรรถ ๒.ธัมมปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในธรรม ๓.นิรุตติปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในนิรุกติ คือ ภาษา ๔.ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ
  5. ปฏิสัมภิทามรรค : ทางแห่งปฏิสัมภิทา, ข้อปฏิบัติที่ทำให้มีความแตกฉาน; ชื่อคัมภีร์หนึ่งแห่งขุททกนิกาย ในพระสุตตันตปิฎก เป็นภาษาของพระสารีบุตร
  6. อัตถปฏิสัมภิท : ปัญญาแตกฉานในอรรถ, ความแตกฉานสามารถอธิบายเนื้อความย่อของภาษิตโดยพิสดาร และความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไปจากเหตุ (ข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔)
  7. มหาโกฏฐิตะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เกิดในตระกูลพราหมณ์ในเมืองสาวัตถี บิดาเป็นมหาพราหมณ์ชื่ออัสสลายนะ มารดาชื่อจันทวดี ท่านเรียนจบไตรเพท ได้ฟังเทศนาของพระศาสดามีความเลื่อมใส บวชแล้ว เจริญวิปัสสนา ได้บรรลุพระอรหัต ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะในทางเป็นผู้แตกฉานในปฏิสัมภิทา ๔
  8. สัทธัมมปกาสินี : ชื่อคัมภีร์อรรถกถาอธิบายความในปฏิสัมภิทามรรค แห่งพระสุตตันตปิฎก พระมหานามรจนาในเกาะลังกา ประมาณ พ.ศ.๑๐๖๐
  9. อรหันต์ : ผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา, พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด ผู้ได้บรรลุอรหัตตผล, พระอรหันต์ ผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา, พระอริยบุคคลชั้นสูงสุด ผู้ได้บรรลุอรหัตตผล, พระอรหันต์ ๒ ประเภท คือ พระสุกขวิปัสสก กับพระสมถยานิก ; พระอรหันต์ ๔ คือ ๑) พระสุกขวิปัสสก ๒) พระเตวิชชะ (ผู้ได้วิชชา ๓) ๓) พระฉฬภิญญะ (ผู้ได้อภิญญา ๖) ๔) พระปฏิสัมภิทัปปัตตะ (ผู้บรรลุปฏิสัมภิทา ๔); พระอรหันต์ ๕ คือ ๑) พระปัญญาวิมุต ๒) พระอุภโตภาควิมุต ๓) พระเตวิชชะ ๔) พระฉฬภิญญะ ๕) พระปฏิสัมภิทัปปัตตะ ดู อริยบุคคล

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภิท, 6 found, display 1-6
  1. ฉฬภิญฺญาปฏิสมฺภิทาทิปฺปเภทคุณปฏิมณฑิต : (วิ.) ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณอันต่าง ด้วยธรรมวิเศษมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิ- ทาเป็นต้น, ผู้ประดับประดาแล้วด้วย..., ผู้ อันคุณมีคุณมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิทา เป็นต้นเป็นประเภทประดับแล้ว.
  2. นิรุตฺติปฏิสมฺภิท : (อิต.) ปัญญาอันแตกฉาน ด้วยดีโดยต่างในภาษา, นิรุตติปฏิสัมภิทา คือความรู้และความเข้าใจภาษาและรู้จัก ใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษา ต่างประเทศ.
  3. ปฏิสมฺภิท : อิต. ปฏิสัมภิทา, ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน
  4. อุพฺภิท : (ปุ.) อุพภิทะ ชื่อเกลืออย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง เป็นเกลือที่เกิดในนาเกลือชื่อ รุมะ ในสัมพรี- ประเทศ, เกลือ.
  5. อตฺถปฏิสมฺภิทาญาณ : (นปุ.) ความรู้(ปัญญา)อันแตกฉานในผล, ปัญญาที่แตกฉานในผลทั้งปวงอันเกิดจากเหตุทั้งปวง, ความรู้อันแตกฉานในอรรถ.
  6. เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ภิท, 1 found, display 1-1
  1. แตก : ภิชฺชติ, ภินฺโน (ภิท+ย), ผลิต

(0.1030 sec)