Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภูมิหลัง, หลัง, ภูมิ , then ภม, ภุมิ, ภูมิ, ภูมิหลัง, ภูมี, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภูมิหลัง, 521 found, display 1-50
  1. ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
  2. ภูมี : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
  3. ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
  4. ภูนาถ ภูป ภูปติ ภูปาล ภูภุช ภูมิธร ภูมินฺท ภูมิภูมิ-ปาล : (ปุ.) พระยา, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
  5. ภูมิตล : นป. พื้นดิน
  6. นวภูมิ : (วิ.) มีชั้นเก้า, มีชั้นเก้าชั้น, มีเก้าชั้น. วิ. นว ภูมิโย ยสฺส โส นวภูโม. แปลง ภูมิ เป็น ภูม.
  7. อปายภูมิ : (อิต.) ภูมิที่ปราศจากความเจริญ, อบายภูมิคือนรกเปรตอสุรกาย และสัตว์ดิรัจฉาน.วิ.อปาโยเอว ภูมิ อปายภูมิ
  8. กมฺมภูมิ : อิต. ภูมิของกรรม, ชื่อของกรรม
  9. กิเลสภูมิ : อิต. ภูมิแห่งกิเลสมี ๔ คือ (๑) สังโยชน์ (๒) อนุสัย (๓) ปริยุฏฐาน (๔) อุปาทาน
  10. จตุภูมิ : (อิต.) ภูมิสี่(สี่ภูมิสี่ชั้น) วิ. จตสฺโส ภูมิโย จตุภูมิโย.
  11. จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
  12. ชยภูมิ : (อิต.) แผ่นดินอันแสดงถึงชัยชนะ, พื้นที่อันมีชัย, ชัยภูมิ ( ทำเลที่เหมาะ). ส. ชยภูมิ.
  13. ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
  14. ชิฆญฺญ : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, หย่อน, ต่ำช้า, ชั่วช้า, เลวทราม. วิ. ชฆเน สาธุ ชิฆญฺญ. ชฆน ศัพท์ ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เหลือเป็น นฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ แปลง อ ที่ ช เป็น อิ.
  15. ชินภูมิ : อิต. ภูมิหรือพื้นที่ของผู้ชนะ
  16. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  17. ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
  18. ทสฺสนภูมิ : อิต. ภูมิแห่งการเห็น (ด้วยปัญญา), ระดับแห่งความรู้ความเห็น
  19. นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
  20. นิวาสนภูมิ : อิต. ภูมิเป็นที่อาศัยอยู่, สถานที่อยู่อาศัย
  21. ปนฺต : (วิ.) สุด, หลัง, เสร็จ, สงัด.ปปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบที่สุดธาตุ.
  22. พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
  23. มชฺฌิมภูมิ : (อิต.) ชั้นมีในท่ามกลาง, ฐานะมีในท่ามกลาง, มัชฌิมภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคนชั้นกลางในพระพุทธศาสนาหมายถึงความรู้ชั้นกลางคือนักธรรมชั้นโท หรือหมายถึงพระชั้นกลางมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ พรรษา.
  24. สุทฺธาวาสภูมิ : (อิต.) สุทธาวาสสภูมิ (ภูมิเปนที่อยู่ของพระอนาคามี).
  25. อนฺต : (วิ.) เลว, ทราม, ต่ำ, ต่ำช้า, ลามก, หลัง, สุด, สุดท้าย.ส.อนฺต.
  26. อนฺติม : (วิ.) เกิดในที่สุด, ประกอบในที่สุด, มีในที่สุด, สุด, สุดท้าย, หลัง, เสร็จ.
  27. อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
  28. อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
  29. อากิญฺจญฺญายตนภูมิ : (อิต.) อากิญจัญญยตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมชั้นที่ ๓
  30. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  31. อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล่
  32. กปฺปิยภูมิ : อิต. ดู กปฺปิยกุฏิ
  33. เขมภูมิ : อิต. ดู เขมฏฐาน
  34. ติโยชนภูมิ : (อิต.) ภาคพื้นมีโยชน์สาม.
  35. ปุญฺญภูมิ : อิต. สถานศักดิ์สิทธิ์สำหรับแสวงบุญของศาสนิก
  36. ภม : (ปุ.) ทางน้ำไหล, ท่อ, ท่อน้ำ, เครื่องกลึง. ภมุ อนวฏฺฐเน, อ.
  37. ยานภูมิ : อิต. ถนน, ทางเป็นที่ไปแห่งยาน
  38. ยุทฺธภูมิ : (อิต.) แผ่นดินแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ภาคพื้นแห่งการต่อสู้, ฯลฯ, สนามรบ.
  39. สุวณฺณภูมิ : (อิต.) แดนทอง, แผ่นดินทอง, สุวรรณภูมิ. คำ สุวรรณภูมิ ไทยหมายถึง แผ่นดิน พม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มลายู และสิงคโปร์.
  40. ภูมิ : อิต. ที่อันไม่สมควร, ไม่ใช่ภาคพื้น
  41. อาปานภูมิ : อิต. ภาคพื้นเป็นที่มาดื่ม, โรงสุรา
  42. อารามภูมิ : (อิต.) พื้นที่วัด, พื้นที่สวน.
  43. อุกฺการภูมิ : อิต. พื้นที่เปื้อนคูถ, กองคูถ
  44. อุยฺยานภูมิ : (อิต.) พื้นที่สวนหลวง.
  45. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  46. กถลา : (อิต.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
  47. กถลิก : (นปุ.) ของที่ให้สุกด้วย ไฟ, กระเบื้อง. กถฺ นิปฺปาเก, อโล. ศัพท์ หลัง ก สกัด อิ อาคม.
  48. กรหาฏ กรหาฏก : (นปุ.) เหง้าในดิน, หัวใน ดิน, เหง้า, หัว, ก้านดอกไม้. วิ. กุยํ รูหตีติ กรหาฏํ. กุปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, อาโฏ, อุสฺสตฺตํ. ศัพท์ หลัง ก สกัด.
  49. กายวาจาทิ : (วิ.) มีกายกรรมและวจีกรรม เป็นต้น. ลบ กมฺม หลัง กาย, วาจา ออก. มีกายทวาร และวจีทวาร เป็นต้น. ลบ ทฺวาร ออก.
  50. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-521

(0.0986 sec)