Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มรรค , then มคฺค, มรรค, มรรคา .

Eng-Thai Lexitron Dict : มรรค, not found

Thai-Eng Lexitron Dict : มรรค, 6 found, display 1-6
  1. มารค : (N) ; path ; Related:way, course, route ; Syn:มรรค, มรรคา, ทาง, เส้นทาง, วิถี ; Def:แนวที่ใช้ผ่านไปมาได้ ; Samp:ในหลวงทรงโปรดฯ ให้ราษฎรได้เข้าเฝ้าอย่างใกล้ชิดในระหว่างเสด็จพระราชดำเนินทั้งทางสถลมารคและชลมารค ; Unit:ทาง, สาย, เส้น
  2. มารค : (N) ; path ; Related:way, course, route ; Syn:มรรค, มรรคา, ทาง, เส้นทาง, ทางน้ำ, ทางบก, ผลู, พิถี, วิถี ; Def:แนวที่ใช้ผ่านไปมาได้ ; Samp:ในหลวงทรงโปรดฯ ให้ราษฎรได้เข้าเฝ้าอย่างใกล้ชิดในระหว่างเสด็จพระราชดำเนินทั้งทางสถลมารคและชลมารค ; Unit:ทาง, สาย, เส้น
  3. อรหัตมรรค : (N) ; path of Arhatship ; Def:ทางปฏิบัติเพื่อบรรลุพระอรหัต ; Samp:พระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญอรหัตมรรค
  4. มัชฌิมาปฏิปทา : (N) ; middle path ; Related:middle way, moderate practice ; Syn:ทางสายกลาง ; Def:ความประพฤติสายกลาง คือ ไม่ตึงเกินไปและไม่หย่อนเกินไป, ข้อปฏิบัติปานกลาง คือ มรรค 8 ; Samp:มัชฌิมาปฏิปทาเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตที่สำคัญของชาวพุทธ
  5. อริยมรรค : (N) ; four paths of saintship in Buddhism ; Related:excellent path ; Def:ชื่อโลกุตรธรรมในพระพุทธศาสนามี 4 ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค
  6. อริยะ : (N) ; one who has attained final sanctification ; Related:converted person ; Syn:พระอริยะ, พระอริยบุคคล ; Def:ในพระพุทธศาสนาใช้เรียกบุคคลผู้บรรลุธรรมวิเศษ มีโสดาปัตติมรรคเป็นต้น

Royal Institute Thai-Thai Dict : มรรค, more than 5 found, display 1-5
  1. มรรค, มรรค-, มรรค : [มัก, มักคะ-, มันคา] น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ - ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ - ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา - การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ - การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ - การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ - ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ - ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ -ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. (ส. มารฺค; ป. มคฺค).
  2. สกทาคามิมรรค, สกิทาคามิมรรค : [มัก] น. ทางปฏิบัติที่ให้สําเร็จเป็นพระสกทาคามี. (ส. สกฺฤทาคามินฺ + มารฺค; ป. สกทาคามิมคฺค, สกิทาคามิมคฺค). (ดู มรรค).
  3. อนาคามิมรรค : น. ทางปฏิบัติที่ให้สําเร็จเป็นพระอนาคามี. (ส. อนาคามินฺ + มารฺค; ป. อนาคามิมคฺค). (ดู มรรค).
  4. อรหัตมรรค : น. ทางปฏิบัติที่ให้สำเร็จเป็นพระอรหันต์. (ส. อรฺหตฺตฺว + มารฺค; ป. อรหตฺตมคฺค). (ดู มรรค).
  5. อัฏฐังคิกมรรค : [อัดถังคิกะมัก] น. มรรคประกอบด้วยองค์ ๘. (ป. อฏฺ?งฺคิกมคฺค).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : มรรค, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : มรรค, more than 5 found, display 1-5
  1. มรรค : ทาง, หนทาง 1.มรรค ว่าโดยองค์ประกอบ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เรียกเต็มว่า อริยอัฏฐังคิกมรรค แปลว่าทางมีองค์ ๘ ประการอันประเสริฐ เรียกสามัญว่า มรรคมีองค์ ๘ คือ ๑.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ ๒.สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ ๓.สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔.สัมมากัมมันตะ ทำการชอบ ๕.สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ๖.สัมมาวายามะ เพียรชอบ ๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ ๘.สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ 2.มรรค ว่าโดยระดับการให้สำเร็จกิจ คือ ทางอันให้ถึงความเป็นอริยบุคคลแต่ละขั้น, ญาณที่ทำให้ละสังโยชน์ได้ขาด เป็นชื่อแห่งโลกุตตรธรรม คู่กับผล มี ๔ ชั้นคือ โสดาปัตติมรรค ๑ สกทาคามิมรรค ๑ อนาคามิมรรค ๑ อรหัตตมรรค
  2. มรรคจิต : จิตที่สัมปยุตด้วยมรรค ดู มรรค 2พระอริยบุคคลผู้ตั้งอยู่ในมรรค มีโสดาปัตติมรรคเป็นต้น ตั้งอยู่ชั่วขณะมรรคจิตเท่านั้น พ้นจากนั้นก็จะเกิดผลจิต กลายเป็นผู้ตั้งอยู่ในผล มีโสดาปัตติผลเป็นต้น
  3. อริยอัฏฐังคิกมรรค : มรรคมีองค์ ๘ ประการอันประเสริฐ ดู มรรค
  4. องค์มรรค : (บาลีว่า มคฺคงฺค) องค์ประกอบของมรรค, องค์ธรรม ๘ อย่าง มีสัมมาทิฏฐิ เป็นต้น ที่ประกอบกันเข้าเป็นมรรค หรือที่เรียกชื่อเต็มว่า อริยอัฏฐังคิกมรรค ดู มรรค 1
  5. อารยอัษฎางคิกมรรค : ทางที่องค์ ๘ ประการ อันประเสริฐ ดู มรรค
  6. Budhism Thai-Thai Dict : มรรค, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : มรรค, more than 5 found, display 1-5
  1. มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
  2. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  3. ธมฺมยาน : นป. ยานคือธรรม (มรรค ๘)
  4. มคฺคจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบแล้วด้วยมรรค, จิตประกอบด้วยมรรค.
  5. มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : มรรค, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : มรรค, 3 found, display 1-3
  1. ทวารหนัก, วัจมรรค : ปายุ, คุทํ [ปุ.]
  2. เดินทาง : มคฺคปฏิปนฺโน
  3. ผู้เดินทาง : มคฺคปฏิปนฺน

(0.1212 sec)