Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Budhism Thai-Thai Dict : , 66 found, display 1-50
  1. ชุพเพท : ชื่อคัมภีร์ที่ ๒ แห่งพระเวท ในศาสนาพราหมณ์ เป็นตำรับประกอบด้วมนต์สำหรับใช้สวดในัญพิธีและแถลงพิธีทำกิจบูชาัญ เขีนอ่างสันสกฤตเป็น ชุรเวท ดู ไตรเพท, เวท
  2. สกุลบุตร : พระสะเมื่อก่อนอุปสมบท เรีกว่า สกุลบุตร
  3. เถสังวาส : ลักเพศ, มิใช่ภิกษุ แต่ปลอมเพศเป็นภิกษุ (พจนานุกรมเขีน เถสังวาส, เขีนอ่างบาลีเป็น เถสังวาสก์)
  4. พาหิ ทารุจีริ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เกิดในครอบครัวคนมีตระกูลในแคว้นพาหิรัฐ ลงเรือเดินทะเลเพื่อจะไปค้าขา เรือแตกกลางทะเลรอดชีวิตไปได้ แต่หมดเนื้อหมดตัว ต้องแสดงตนเป็นผู้หมดกิเลสหลอกลวงประชาชนเลี้งชีวิต ต่อมาพบพระพุทธเจ้า ทูลขอให้ทรงแสดงธรรม พระองค์ทรงแสดงวิธีปฏิบัติต่ออารมณ์ที่รับรู้ทางอาตนะทั้ง ๖ พอจบพระธรรมเทศนา่น่อนั้น พาหิะก็สำเร็จอรหัต แต่ไม่ทันได้อุปสมบท กำลังเที่วหาบาตรจีวร เผอิญถูกโคแม่ลูกอ่อนขวิดเอาสิ้นชีวิตเสีก่อน ได้รับ่องว่าเป็นเอตทัคคะทางด้านตรัสรู้ฉับพลัน
  5. สักปุตติ : ผู้เป็นเหล่ากอแห่งพระศากบุตร (ศากบุตร หรือ สักปุตต หมาถึงพระพุทธเจ้า), โดใจความคือ ผู้เป็นลูกพระพุทธเจ้า ได้แก่พระภิกษุ (ภิกษุณีเรีกว่า สักธิดา)
  6. ติตถิปริวาส : วิธีอู่กรรมสำหรับเดีรถี์ที่ขอบวชในพระพุทธศาสนา กล่าวคือ นักบวชในลัทธิศาสนาอื่น หากปรารถนาจะบวชเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา จะต้องประพฤติปริวาสก่อน ๔ เดือน หรือจนกว่าพระสงฆ์พอใจ จึงจะอุปสมบทได้
  7. ติตถิปักกันตะ : ผู้ไปเข้ารีตเดีรถี์ทั้งเป็นภิกษุ อุปสมบทอีกไม่ได้ (เป็นวัตถุวิบัติ)
  8. ธัมมเทสนามั : บุญสำเร็จด้วการแสดงธรรม (ข้อ ๙ ในบุญกิริาวัตถุ ๑๐)
  9. นิรันตรา : ปราศจากอันตรา
  10. เนวสัญญานาสัญญาตนะ : ภาวะที่มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่เป็นชื่ออรูปฌาน หรืออรูปภพที่ ๔
  11. โพธิปักขิธรรม : ธรรมอันเป็นฝักฝ่าแห่งความตรัสรู้, ธรรมที่เกื้อหนุนแก่อริมรรค มี ๓๗ ประการคือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรี์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘
  12. มูลาปฏิกัสสนา : การชักเข้าหาอาบัติเดิม เป็นชื่อวุฏฐานวิธีอ่างหนึ่ง ดู ปฏิกัสสนา
  13. มูลาปฏิกัสสนารหภิกษุ : ภิกษุผู้ควรแก่การชักเข้าหาอาบัติเดิม หมาถึง ภิกษุผู้กำลังอู่ปริวาส หรือประพฤติมานัตอู่ ต้องอาบัติสังฆาทิเสสข้อเดีวกันหรืออาบัติสังฆาทิเสสข้ออื่น เข้าอีกก่อนที่สงฆ์จะอัพภาน ต้องตั้งต้นอู่ปริวาสหรือประพฤติมานัตใหม่
  14. ี่ : ๒ โบราณเขีน ญี่ เดือนี่ ก็คือเดือนที่ ๒ ต่อจากเดือนอ้าอันเป็นเดือนที่หนึ่ง
  15. โลกิฌาน : ฌานโลกี์, ฌานอันเป็นวิสัของโลก, ฌานของผู้มีจิตังไม่เป็นโลกุตตระ, ฌานที่ปุถุชนได้
  16. โลกิธรรม : ธรรมอันเป็นวิสัของโลก, สภาวะเนื่องในโลก ได้แก่ขันธ์ ๕ ที่ังมีอาสวะทั้งหมด; คู่กับ โลกุตตรธรรม
  17. โลกิวิมุตติ : วิมุตติที่เป็นโลกี์ คือความพ้นอ่างโลกๆ ไม่เด็ดขาด ไม่สิ้นเชิง กิเลสและความทุกข์ังกลับครอบงำได้อีก ได้แก่วิมุตติ ๒ อ่างแรกคือ ตทังควิมุตติ และ วิกขัมภนวิมุตติ ดู วิมุตติ, โลกุตตรวิมุตติ
  18. โลกิสุข : ความสุขอ่างโลกี์, ความสุขที่เป็นวิสัของโลก, ความสุขที่ังประกอบด้วอาสวะ เช่น กามสุข มนุษสุข ทิพสุข ตลอดถึงฌานสุขและวิปัสสนาสุข
  19. เวเนสัตว์ : ดู เวไนสัตว์
  20. สหเสสิกขาบท : สิกขาบทเกี่วกับการนอนร่วมมี ๒ ข้อ ข้อหนึ่งปรับอาบัติปาจิตตี์แก่ภิกษุผู้นอนร่วมกับอนุปสัมบันเกิน ๒-๓ คืน อีกข้อหนึ่งปรับอาบัติปาจิตตี์แก่ภิกษุผู้นอนร่วม (คือนอนในที่มุงที่บังเดีวกัน) กับหญิงแม้ในคืนแรก (ข้อ ๕ และ ๖ ในมุสาวาทวรรค ปาจิตติกัณฑ์)
  21. สักราช : กษัตริ์วงศ์ศากะ, พระราชาวงศ์ศาก
  22. เสขิวัตร : วัตรที่ภิกษุจะต้องศึกษา, ธรรมเนีมเกี่วกับมาราทที่ภิกษุพึงสำเหนีกหรือพึงฝึกฝนปฏิบัติ มี ๗๕ สิกขาบท จำแนกเป็น สารูป ๒๖ โภชนปฏิสังุต ๓๐ ธัมมเทสนาปฏิสังุต ๑๖ และปกิรณะคือเบ็ดเตล็ด ๓, เป็นหมวดที่ ๗ แห่งสิกขาบท ในบรรดาสิกขาบท ๒๒๗ ของพระภิกษุ ท่านให้สามเณรถือปฏิบัติด้ว
  23. อัญญภาคิสิกขาบท : ชื่อสิกขาบทที่ ๙ แห่งสังฆาทิเสส (ภิกษุหาเลสโจทภิกษุอื่นด้วอาบัติปาราชิก), เรีกอีกชื่อหนึ่งว่า ทุติทุฏฐโทสสิกขาบท
  24. อาจาร : ผู้สั่งสอนวิชาความรู้, ผู้ฝึกหัดอบรมมรราท, อาจาร์ ๔ คือ ๑) บัพพชาจาร์ หรือ บรรพชาจาร์ อาจาร์ในบรรพชา ๒) อุปสัมปทาจาร์ อาจาร์ในอุปสมบท ๓) นิสสาจาร์ อาจาร์ผู้ให้นิสสั ๔) อุทเทศาจาร์ หรือ ธรรมาจาร์ อาจาร์ผูสอนธรรม
  25. อุทธัมภาคิสังโชน์ : สังโชน์เบื้องสูง ได้แก่ กิเลสผูกใจสัตว์อ่างละเอีด มี ๕ คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ อวิชชา พระอรหันตจึงละได้; ดู สังโชน์
  26. โอรัมภาคิสังโชน์ : สังโชน์เบื้องต่ำ, กิเลสผูกใจสัตว์อ่างหาบ มี ๕ อ่าง คือ สักกาทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ ปฏิฆะ; ดู สังโชน์
  27. ควัมปติ : ชื่อกุลบุตรผู้เป็นสหาของพระสะ เป็นบุตรเศรษฐีเมืองพาราณสี ได้ทราบข่าวว่าสกุลบุตรออกบวช จึงบวชตามพร้อมด้วสหาอีก ๓ คน คือ วิมล สุพาหุ ปุณณชิ ต่อมาได้สำเร็จพระอรหัตทั้งหมด
  28. จักรวรรดิวัตร ๑๒ : ๑.อนฺโตชนสฺมึ พลกาสฺมึ คุ้มครองสงเคราะห์แก่ชนในพระราชฐานและพุหเสนา ๒.ขตฺติเสุ แก่กษัตริ์เมืองขึ้นหรือผู้ครองนครภาใต้พระบรมเดชานุภาพ ๓.อนุนฺเตสุ แก่กษัตริ์ที่ตามเสด็จคือ เหล่าเชื้อพระวงศ์ผู้เป็นราชบริพาร ๔.พฺราหฺมณคหปติเกสุ แก่พราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลา ๕.เนคมชานปเทสุ แก่ชาวนิคมและชาวชนบทคือ ราษฎรพื้นเมืองทั้งเหล่า ๖.สมณพฺราหฺมเณสุ แก่เหล่าสมณพราหมณ์ ๗.มิคปกฺขีสุ แก่เหล่าเนื้อนกอันพึงบำรุงไว้ให้มีสืบพันธุ์ ๘.อธมฺมการปฏิกฺเขโป ห้ามปรามมิให้มีความประพฤติการอันไม่เป็นธรรม ๙.อธนานํ ธนานุปฺปทานํ เจือจานทรัพ์ทำนุบำรุงแก่ผู้ขัดสนไร้ทรัพ์ ๑๐.สมณพฺราหฺมเณ อุปสงฺกมิตฺวา ปญฺหาปุจฺฉนํ ไปสู่หาพราหมณ์ไต่ถามอรรถปฤษณา ๑๑.อธมฺมราคสฺส ปหานํ เว้นความกำหนัดในกามโดอาการไม่เป็นธรรม ๑๒.วิสมโลภสฺส ปหานํ เว้นโลภกล้า ไม่เลือกควรไม่ควร
  29. ญาตัตถจริ : พระพุทธจริาเพื่อประโชน์แก่พระญาติ, ทรงประพฤติประโชน์แก่พระประูรญาติ เช่น ทรงอนุญาตให้พระญาติที่เป็นเดีรถี์เข้ามาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา ไม่ต้องอู่ติตถิปริวาส ๔ เดือนก่อน เหมือนเดีรถี์อื่น และเสด็จไปห้ามพระญาติที่วิวาทกันด้วเรื่องน้ำ เป็นต้น ดู พุทธจริ
  30. ตทังควิมุตติ : พ้นด้วองค์นั้นๆ หมาความว่า พ้นจากกิเลสด้วอาศัธรรมตรงกันข้ามที่เป็นคู่ปรักกัน เช่น เกิดเมตตา หาโกรธ เกิดสังเวช หากำหนัด เป็นต้น เป็นการหลุดพ้นชั่วคราว และเป็นโลกิวิมุตติ ดู วิมุตติ
  31. เตวาจิก : มีวาจาครบ ๓ หมาถึง ผู้กล่าวว่าจาถึงสรณะครบทั้ง ๓ อ่าง คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดาพระสะเป็นคนแรก ที่ประกาศตน เป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัตลอดชีวิต (เทีบ เทฺววาจิก)
  32. ไตรเพท : พระเวท ๓ อ่าง ซึ่งเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ ๑.ฤคเวท ประมวลบทสวดสรรเสริญเทพเจ้า ๒.ชุรเวท ประกอบด้วบทสวดอ้อนวอนในพิธีบูชาัญต่างๆ ๓.สามเวท ประมวลบทเพลงขับสำหรับสวดหรือร้องเป็นทำนองในพิธีบูชาัญ ต่อมาเพิ่มอถรรพเวท หรือ อาถรรพณเวท อันว่าด้วคาถาอาคมทรงไสศาสตร์เข้ามาอีกเป็น ๔
  33. ธรรมกถึก : ผู้กล่าวสอนธรรม, ผู้แสดงธรรม, นักเทศก์ โลกิธรรม
  34. ธรรมเทศนาปฏิสังุต : ธรรมเนีมที่เกี่วกับการแสดงธรรม (หมวดที่ ๓ แห่งเสขิวัตร มี ๑๖ สิกขาบท)
  35. ปฐมอุบาสก : อุบาสกคนแรกในพระพุทธศาสนา หมาถึง ตปุสสะกับภัลลิกะ ซึ่งถึงสรณะ ๒ คือพระพุทธเจ้า และพระธรรม; บิดาของพระสะเป็นคนแรกที่ถึงสรณะครบ ๓
  36. ปฐมอุบาสิกา : อุบาสิกาคนแรก หมาถึงมารดาและภรราเก่าของพระสะ
  37. ปริวาส : การอู่ชดใช้ เรีกสามัญว่า อู่กรรม, เป็นชื่อวุฏฐานวิธี (ระเบีบปฏิบัติสำหรับออกจากครุกาบัติ) อ่างหนึ่ง ซึ่งภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วปกปิดไว้ จะต้องประพฤติเป็นการลงโทษตนเองชดใช้ให้ครบเท่าจำนวนวันที่ปิดอาบัติ ก่อนที่จะประพฤติมานัตอันเป็นขั้นตอนปกติของการออกจากอาบัติต่อไป, ระหว่างอู่ปริวาส ต้องประพฤติวัตรต่างๆ เช่น งดใช้สิทธิบางอ่าง ลดฐานะของตน และประจานตัวเป็นต้น; ปริวาส มี ๓ อ่าง คือ ปฏิจฉันนปริวาส สโมธานปริวาส และ สุทธันตปริวาส; มีปริวาสอีกอ่างหนึ่งสำหรับนักบวชนอกศาสนา จะต้องประพฤติก่อนที่จะบวชในพระธรรมวินั เรีกว่า ติตถิปริวาส ซึ่งท่านจัดเป็น อปริจฉันนปริวาส
  38. ปุณณชิ : บุตรเศรษฐีเมืองพาราณสี เป็นสหาของสกุลบุตร ได้ทราบข่าวสกุลบุตรออกบวช จึงได้บวชตาม พร้อมด้วสหาอีก ๓ คน คือวิมละ สุพาหุ และควัมปติ ได้เป็นองค์หนึ่งในอสีติมหาสาวก
  39. พรหมโลก : ที่อู่ของพรหม ตามปกติหมาถึงรูปพรหม ซึ่งมี ๑๖ ชั้น (เรีกว่า รูปโลก) ตามลำดับดังนี้ ๑.พรหมปาริสัชชา ๒.พรหมปุโรหิตา ๓.มหาพรหมา ๔.ปริตตาภา ๕.อัปปมาณาภา ๖.อาภัสสรา ๗.ปริตตสุภา ๘.อัปปมาณสุภา ๙.สุภกิณหา ๑๐.อสัญญีสัตตา ๑๑.เวหัปผลา ๑๒.อวิหา ๑๓.อตัปปา ๑๔.สุทัสสา ๑๕.สุทัสสี ๑๖.อกนิฏฐา; นอกจากนี้ังมีอรูปพรหม ซึ่งแบ่งเป็น ๔ ชั้น (เรีกว่า อรูปโลก) คือ ๑.อากาสานัญจาตนะ ๒.วิญญาณัญจาตนะ ๓.อากิญจัญญาตนะ ๔.เนวสัญญานาสัญญาตนะ
  40. พละ : กำลัง 1.พละ ๕ คือธรรมอันเป็นกำลัง ซึ่งเป็นเครื่องเกื้อหนุนแก่อริมรรค จัดอู่ในจำพวกโพธิปักขิธรรม มี ๕ คือ สัทธา วิริะ สติ สมาธิ ปัญญา; ดู อินทรี๕2.พละ ๔ คือธรรมอันเป็นพลังทำให้ดำเนินชีวิตด้วความมั่นใจ ไม่ต้องหวาดหวั่นกลัวภัต่างๆ ได้แก่ ๑.ปัญญาพละ กำลังปัญญา ๒.วิริพละ กำลังความเพีร ๓.อนวัชชพละ กำลังคือการกระทำที่ไม่มีโทษ (กำลังความสุจริตและการกระทำแต่กิจกรรมที่ดีงาม) ๔.สังคหพละ กำลังการสงเคราะห์ คือช่วเหลือเกื้อกูลอู่ร่วมกับผู้อื่นด้วดี ทำตนให้เป็นประโชน์แก่สังคม 3.พละ ๕ หรือ ขัตติพละ ๕ ได้แก่กำลังของพระมหากษัตริ์ หรือกำลังที่ทำให้มีความพร้อมสำหรับความเป็นกษัตริ์ ๕ ประการ ดังแสดงในคัมภีร์ชาดกคือ ๑.พาหาพละ หรือ กาพละ กำลังแขนหรือกำลังกา คือแข็งแรงสุขภาพดี สามารถในการใช้แขนใช้มือใช้อาวุธ มีอุปกรณ์พรั่งพร้อม ๒.โภคพละ กำลังโภคสมบัติ ๓.อมัจจพละ กำลังข้าราชการที่ปรึกษาและผู้บริหารที่สามารถ ๔.อภิชัจจพละ กำลังความมีชาติสูง ต้องด้วความนิมเชิดชูของมหาชนและได้รับการศึกษาอบรมมาดี ๕.ปัญญาพละ กำลังปัญญา ซึ่งเป็นข้อสำคัญที่สุด
  41. ภัตตัคควัตร : ข้อควรปฏิบัติในหอฉัน, ธรรมเนีมในโรงอาหาร ท่านจัดเข้าเป็นกิจวัตรประเภทหนึ่ง กล่าว่อ มี ๑๑ ข้อ คือ นุ่งห่มให้เรีบร้อ, รู้จักอาสนะอันสมควรแก่ตน, ไม่นั่งทับผ้าสังฆาฏิในบ้าน, รับน้ำและโภชนะของถวาจากทากโดเอื้อเฟือ และคอระวังให้ได้รับทั่วถึงกัน, ถ้าพอจะแลเห็นทั่วกัน พระสังฆเถระพึงลงมือฉัน เมื่อภิกษุทั้งหมดได้รับโภชนะทั่วกันแล้ว, ฉันด้วอาการเรีบร้อตามหลักเสขิวัตร, อิ่มพร้อมกัน (หัวหน้ารอังไม่บ้วนปากและล้างมือ), บ้วนปากและล้างมือระวังไม่ให้น้ำกระเซ็น ฉันในที่มีทากจัดถวา เสร็จแล้วอนุโมทนา, เมือกลับอ่าเบีดเสีดกันออกมา, ไม่เทน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวหรือของเป็นเดนในบ้านเขา
  42. ภิกษุผู้ควรชักเข้าหาอาบัติเดิม : ดู มูลาปฏิกัสสนารหภิกษุ
  43. โภชนปฏิสังุต : ธรรมเนีมที่เกี่วกับโภชนะ, ข้อที่ภิกษุสามเณรควรประพฤติปฏิบัติเกี่วกับการรับบิณฑบาตและฉันอาหาร, เป็นหมวดที่ ๒ แห่งเสขิวัตร มี ๓๐ สิกขาบท
  44. มหาาน : านใหญ่, ชื่อเรีกพระพุทธศาสนา นิกาที่ผู้นับถือมากในประเทศฝ่าเหนือของทวีปเอเชี เช่น จีน เกาหลี ญี่ปุ่น ทิเบต และมองโกเลี บางทีเรีก อุตตรนิกา (นิกาฝ่าเหนือ) บ้าง อาจารวาท (ลัทธิของอาจาร์) บ้าง เป็นคู่กับนิกาฝ่าใต้ (ทักษิณนิกา) คือ เถรวาท ที่ฝ่ามหาานเรีกว่า หีนาน อ่างที่นับถืออู่ในประเทศไทและลังกา เป็นต้น
  45. : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรเศรษฐีเมืองพาราณสีมีความเป็นอู่อ่างสุขสมบูรณ์ วันหนึ่งเห็นสภาพในห้องนอนของตน เป็นเหมือนป่าช้า เกิดความสลดใจคิดเบื่อหน่า จึงออกจากบ้านไปพบพระพุทธเจ้าที่ป่าอิสิปตนมฤคทาวัน ในเวลาใกล้รุ่ง พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาอนุปุพพีกถา และอริสัจโปรด สกุลบุตรได้ดวงตาเห็นธรรม ต่อมาได้ฟังธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงแก่เศรษฐีบิดาของตน ก็ได้บรรลุอรหัตตผลแล้วขออุปสมบท เป็นภิกษุสาวกองค์ที่ ๖ ของพระพุทธเจ้า
  46. สะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรเศรษฐีเมืองพาราณสีมีความเป็นอู่อ่างสุขสมบูรณ์ วันหนึ่งเห็นสภาพในห้องนอนของตน เป็นเหมือนป่าช้า เกิดความสลดใจคิดเบื่อหน่า จึงออกจากบ้านไปพบพระพุทธเจ้าที่ป่าอิสิปตนมฤคทาวัน ในเวลาใกล้รุ่ง พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาอนุปุพพีกถา และอริสัจโปรด สกุลบุตรได้ดวงตาเห็นธรรม ต่อมาได้ฟังธรรมที่พระพุทธเจ้าแสดงแก่เศรษฐีบิดาของตน ก็ได้บรรลุอรหัตตผลแล้วขออุปสมบท เป็นภิกษุสาวกองค์ที่ ๖ ของพระพุทธเจ้า
  47. โลกุตตรวิมุตติ : วิมุตติที่เป็นโลกุตตระ คือ ความหลุดพ้นที่เหนือวิสัโลก ซึ่งกิเลสและความทุกข์ที่ละได้แล้ว ไม่กลับคืนมาอีก ไม่กลับกลา ได้แก่ วิมุตติ ๓ อ่างหลัง คือ สมุจเฉทวิมุตติ, ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ, ปฏิปัสสัทธิวุมุตติ และนิสสรณะวิมุตติ ดู วิมุตติ, โลกิวิมุตติ
  48. วิกขัมภนวิมุตติ : พ้นด้วข่มหรือสะกดไว้ ได้แก่ ความพ้นจากกิเลสและอกุศลธรรมได้ด้วกำลังฌาน อาจสะกดไว้ได้นานกว่าตทังควิมุตติ แต่เมื่อฌานเสื่อมแล้ว กิเลสอาจเกิดขึ้นอีก จัดเป็นโลกิวิมุตติ (ข้อ ๒ ในวิมุตติ ๕; ในบาลีเป็นข้อ ๑ ถึงชั้นอรรถกถา จึงกลามาเป็นข้อ ๒)
  49. วิมละ : บุตรเศรษฐีเมืองพาราณสีเป็นสหาของสกุลบุตร ได้ทราบข่าวสกุลบุตรออกบวช จึงได้บวชตามพร้อมด้วสหาอีก ๓ คน คือ สุพาหุ ปุณณชิ และ ควัมปติ จัดเป็นพระมหาสาวกองค์หนึ่ง
  50. วิมุตติ : ความหลุดพ้น, ความพ้นจากกิเลส มี ๕ อ่าง คือ ๑.ตทังควิมุตติ พ้นด้วธรรมคู่ปรับหรือพ้นชั่วคราว ๒.วิกขัมภนวิมุตติ พ้นด้วข่มหรือสะกดได้ ๓.สมุจเฉทวิมุตติ พ้นด้วตัดขาด ๔.ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ พ้นด้วสงบ ๕.นิสฺสรณวิมุตติ พ้นด้วออกไป; ๒ อ่างแรก เป็น โลกิวิมุตติ ๓ อ่างหลังเป็น โลกุตตรวิมุตติ
  51. [1-50] | 51-66

(0.0246 sec)