Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยึด , then ยด, ยึด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยึด, 85 found, display 1-50
  1. คหณ คหน : (วิ.) จับ, ยึด, ถือ, ถือเอา, กุม, เรียน, ชิด, ชัฏ, รก, รกชัฏ, รกเรี้ยว (รกมาก), ฟั่นเฝือ.
  2. คาห : (วิ.) จับ,กุม,ยึด,ถือ. คหฺ อุปาทาเน,โณ.ผู้จับ วิ. คณ.หาตีติ คาโห.กวน,รับกวน,ทำให้ ปั่นป่วน. คาหุ วิโลลเน, อ.
  3. ฆุณฺณติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป; ถือ, จับ, ยึด
  4. ลคฺค : ค. ซึ่งข้อง, ยึด, เกาะ
  5. ลคฺคติ : ก. ข้อง, ยึด, เกาะ
  6. หร : (วิ.) จับ, ถือ, ยึด, จับเอา, ถือเอา, ยึดเอา, ยึดไว้. หรฺ อาทาเน, อ. นำ, นำไป, นำออก. หรฺ อปนยเน นยเน วา, อ. ส. หร.
  7. อชฺโฌสติ : ก. ห้อย, ยึด, ปรารถนา
  8. อลฺลียติ : ก. ติด, ยึด, เกาะ, อยาก
  9. อาเทติ : ก. ถือเอา, รับ, ยึด
  10. อายุต : ค. ประกอบ, กระทำ, ผูก, ยึด, ติด; ชนะ
  11. อาลมฺพติ : ก. แขวน, หน่วงไว้, ยึด, ห้อย, เกาะเกี่ยว
  12. อาลยติ : ก. ติด, ยึด, เกาะแน่น, อยาก
  13. โอลิ (ลี) ยติ : ก. ติด, ยึด; เฉื่อยชา, ล้าหลัง
  14. โอลุมฺเปติ : ก. ปล้น, ยึด, เด็ด
  15. กมฺมสมาทาน : (นปุ.) การยึดมั่นในกรรม, การถือกรรม.
  16. กามุปาทาน : (นปุ.) ความยึดมั่นในกาม, ความถือมั่นในกาม.
  17. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  18. คณฺหาเปติ : ก. ให้ยึดเอา, ให้ถือเอา
  19. คณฺหิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การถือเอา, การยึดเอา, เพื่อถือเอา, เพื่อยึดเอา
  20. คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
  21. คหณ : นป. การยึด, การถือ, การศึกษา, การเล่าเรียน
  22. คหิต : ๑. นป. การยึด, การถือ, การจับ; ๒. ค. ซึ่งถือแล้ว, ซึ่งยึดแล้ว
  23. คหิตภาว : ป. ความที่แห่ง...อันเขาถือเอาแล้ว, ความยึดเอา
  24. คาหก : ค. ผู้ยึด, ผู้ถือ, ผู้แบกหาม
  25. คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
  26. เฆปฺปติ : ก. ถือเอา, ยึดเอา
  27. จนฺทคาห จนฺทคฺคาห : (ปุ.) การจับซึ่งดวง จันทร์, การยึดดวงจันทร์, จันทคาธ, จันทรคาธ, จันทคราส, จันทรคราส (ราหู จับจันทร์ ราหูอมจันทร์ วิทยาศาสตร์ว่า ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกโคจรมาอยู่ ในแนวเดียวกัน โลกอยู่ระหว่างกลางทำ ให้เงาของโลกไปบังดวงจันทร์).
  28. จิตฺตานุปสฺสนา : (อิต.) การตามเห็นจิต, ความตามเห็นจิต (คือการใช้ปัญญาตรวจตราดู จิตของตนให้รู้เท่าทันอารมณ์ ไม่ยึดมั่น ถือมั่น).
  29. ตณฺหาธิปนฺน : ค. อันตัณหายึดไว้แล้ว
  30. ทิฏฐปาทาน : (นปุ.) ความถือมั่นด้วยอำนาจความเห็น, ความยึดมั่นด้วยอำนาจความเห็น.
  31. ธชพทฺธ : ค. ผู้ถูกยึดธง, เชลยศึก
  32. ธุรสมฺปคฺคาห : ป. การยึดมั่นในภาระธุระ, การยึดมั่นในหน้าที่การงาน, การไม่ทอดทิ้งธุระหน้าที่
  33. นิคาฬฺหิก : ค. อันจมลง, อันหมก, อันติดยึด
  34. นิพนฺธ : ป. ความผูกพัน, การยึดมั่น, การรัดรึง, ติดต่อกันไป; การรบเร้า
  35. ปฏิคาธ : ป. ที่พึ่ง, ที่ยึดเหนี่ยว, หลักยึด
  36. ปฏิตฺถมฺภติ : ก. ยึดมั่น, ดำรงมั่น, ยัน
  37. ปฏิสรณ : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่ยึดเหนี่ยว, ที่คุ้มภัย
  38. ปติฏฺฐา : อิต. ที่พึ่ง, ที่อาศัย, ที่ยึดเหนี่ยว; ความค้ำจุน; ความช่วยเหลือ; ผู้ช่วยเหลือ
  39. ปยคฺคาหี : ค. ผู้ยึดติด, ผู้ยึดถือ, ในสิ่งอันน่ารัก น่าพอใจ
  40. ปรมฏฺฐ : กิต. (อันเขา) ถูกต้องแล้ว, จับต้องแล้ว, ลูบคลำแล้ว, ยึดมั่นแล้ว, กอดรัดแล้ว
  41. ปรามส : ป. การถูกต้อง, การจับต้อง, การลูบคลำ, การจับฉวย, การยึดมั่น, การกอดรัด, สิ่งสัมผัสอันเป็นภัย, โรคติดต่อ
  42. ปรามสติ : ก. ถูกต้อง, จับต้อง, ลูบคลำ, จับฉวย, ยึดมั่น, กอดรัด
  43. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  44. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  45. ปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความยึดมั่น, ฯลฯ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  46. ปสงฺค : ค. ความเกี่ยวข้อง, ความยึดมั่น, ความติดแน่น; เหตุการณ์, โอกาส
  47. มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
  48. ลคฺคน : นป. การข้อง, การยึด, การเกาะ
  49. สนฺทิฏฐปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้มีความยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้ยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นแต่ความเห็นของตน, ผู้ยึดถือแต่ความเห็นของตน, ผู้ดื้อรั้น.
  50. สอุปาทาน : นป. การยึดมั่น
  51. [1-50] | 51-85

(0.0228 sec)