Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยุ่ง , then ยง, ยุ่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยุ่ง, 79 found, display 1-50
  1. อนฺวาหต : ค. ถูกกระทบ, สับสน, ยุ่ง
  2. อากุล, อากุลก : ค. อากูล, เปรอะเปื้อน, ขุ่น, เกลื่อนกล่น, ยุ่ง
  3. จล : ค. หวั่นไหว, โคลงเคลง, ยุ่งยาก
  4. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  5. ตนฺตากุลกชาต : ค. ซึ่งผูกพันกันยุ่งเหมือนกลุ่มด้าย
  6. ทิฏฺฐิคณฺฐิ : อิต. ปมคือทิฐิ, ปมยุ่งแห่งความคิดเห็นอันไร้เหตุผล
  7. นิฆ : ๑. ป. โกรธ, สับสน, วุ่นวาย, ยุ่งยาก; ๒. นป. การฆ่า, การประหาร, การทำลาย
  8. นิชฺชฏ : ค. หมดความยุ่งยาก, หลุดออก, แก้ออก
  9. นิปฺปปญฺจ : ค. ซึ่งไม่มีความยุ่งยากหรือความเนิ่นช้า, ซึ่งปราศจากกิเลสเครื่องเนิ่นช้า
  10. นิรากุล : ค. ไม่สับสน, ไม่อากูล, ไม่ยุ่ง, ไม่วุ่นวาย
  11. นีฆ : ป. ความระทมทุกข์, ความยุ่งยากใจ
  12. ปโกป : ป. ความโกรธเคือง, ความเดือดพล่าน, ความยุ่งยาก
  13. ปริกุปฺปติ : ก. กำเริบ, ยุ่งยาก
  14. ปฬิคุณฺฐิต : ค. อันถูกทำให้ยุ่งแล้ว, ซึ่งถูกทำให้พัวพัน
  15. วิกฺขิตฺต : กิต. ซัดไปแล้ว, ฟุ้งซ่าน, รบกวน, ยุ่งยาก
  16. วิกฺเขปก : ป. ผู้ยุ่งยาก, ผู้รบกวน
  17. วิกฺโขภน : นป. การรบกวน, การก่อความยุ่งยาก, การกำเริบ
  18. วิชฏน : นป. การหมดเรื่องยุ่ง
  19. วิชเฏติ : ก. หมดยุ่ง, สาง
  20. วิโลฬน : นป. การตื่นเต้น, การยุ่งยาก, การกวน
  21. สงฺโกป : ป. ผู้รบกวน, ผู้ก่อความยุ่ง
  22. สงฺขุภน : นป. การกำเริบ, การยุ่งยาก
  23. สญฺจลติ : ก. หวั่นไหว, ยุ่งยาก
  24. สญฺจลน : นป. การหวั่นไหว, การยุ่งยาก
  25. สทร : ค. ก่อความยุ่งยาก, รำคาญใจ
  26. อนารมฺภ : ๑. ค. ไม่ปั่นป่วน, ไม่ยุ่ง ; ๒. ไม่ปรารภ
  27. อุพฺพิชฺชติ : ก. ยุ่งยาก, เดือดร้อน, ตกใจ, หวาดเสียว
  28. อุพฺพิชฺชนา : อิต. ความยุ่งยากใจ, ความหวาดเสียว, ความกลัว
  29. เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
  30. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  31. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  32. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  33. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  34. นามาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออันบุคคลทรงไว้ ยิ่ง, พระนาม, พระนามาภิไธย.
  35. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  36. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  37. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  38. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  39. ภิญฺโญ : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, โดยยิ่ง, ยิ่งขึ้นไป.
  40. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  41. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  42. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  43. มหคฺคตารมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์เป็นรูปาวจร และ อรูปาวจร. มห (ยิ่ง)+คต+อารมฺมณ.
  44. มหนฺต : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก, โต, ผู้ใหญ่, แก่. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อนฺโต.
  45. มายูร : ป. ฝูงนกยง
  46. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  47. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  48. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  49. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  50. อจฺจนฺต : (วิ.) จริงๆ, โดยแท้, โดยส่วนเดียว, ล่วงส่วน, ยิ่ง, ยิ่งนัก, เนื่องกัน, ถาวร, มั่นคง, สุดท้าย, มากมาย, ล่วงละเมิด.
  51. [1-50] | 51-79

(0.0135 sec)