Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ย่า , then ย่ะ, ยา, ย่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ย่า, 565 found, display 1-50
  1. มหามาตุ : (อิต.) แม่ใหญ่, แม่แก่, ย่า, ยาย.
  2. ปยฺยกา ปยฺยิกา : (อิต.) ย่าทวด, ยายทวด, ย่า ชวด, ยายชวด. วิ. มาตุยา อยฺยกา อยฺยิกา วา ปยฺยกา ปยฺยิกา. ลบ ตุ รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  3. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  4. มาตามหา มาคามหี : (อิต.) ยาย (แม่ของแม่) วิ. มาตุ มาตา มาตามหา มาตามหี วา. อามห ปัจ. อา อี อิต. ย่า (แม่ของพ่อ) วิ. ปิตุโน มาตา ปิตามหา ปิตามหี วา.
  5. อยฺยกา, อยฺยกี : อิต. ย่า, ยาย
  6. อยฺยกาอยฺยกีอยฺยิกาอยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยายรูปฯ ๑๘๙ว่าอยฺยกศัพท์เป็นต้นเมื่อลงอีปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอาอที่สุดของศัพท์เป็นอาน.
  7. อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
  8. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  9. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  10. ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
  11. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  12. ยาจนก : ค. ซึ่งขอ, ผู้ขอ
  13. ยาจนา : (อิต.) การขอ, การขอร้อง, การร้องขอ, การวิงวอน. ยาจฺ ยาจเน, อ, ยุ.
  14. ยาจิต : กิต.ขอ, ขอร้อง, อ้อนวอนแล้ว
  15. ยาจิตก : นป. ของที่ยืมมา
  16. ยาเชติ : ก. ให้บูชายัญ, อ้อนวอนให้ทำการบูชายัญ
  17. ยาติ : ก. ไป, ดำเนินไป, ก้าวไป
  18. ยาถาว : ค. แน่นอน, แน่แท้, จริง
  19. ยาถาวโต : ก. วิ. โดยแน่นอน, โดยแน่แท้, อย่างจริงแท้
  20. ยานิก, - นิย : ค. ซึ่งนำไป, ซึ่งพาไป
  21. ยานีกต : ค. ทำให้ชำนาญแล้ว, ทำให้เคยชินแล้ว
  22. ยานึกต : (วิ.) กระทำให้เป็นยานแล้ว.
  23. ยาปนมตฺต : (วิ.) (อาหาร) สักว่าเป็นเครื่องอัตภาพให้เป็นไป, พอยังชีวิตให้เป็นไป, พอเลี้ยงชีวิต, พอเยียวยาชีวิต.
  24. ยาปนา : (อิต.) การยังอัตภาพให้เป็นไป, การยังชีวิตให้เป็นไป, ฯลฯ.
  25. ยาปนีย : (วิ.) พึงยัง...ให้เป็นไป, ฯลฯ.
  26. ยาเปติ : ก. เลี้ยงชีพ, ดำรงชีพ, ยังชีวิตให้เป็นไป ; ให้ไป ; นำไป
  27. ยาวก : (ปุ.) ครั่ง. ยุ มิสฺสเน, ณฺวุ.
  28. ยาวกีว : (อัพ. นิบาต) เพียงใด, เพียงไร.
  29. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  30. ขตฺติยา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดินผู้หญิง. วิ. ขตฺติยสฺส อปจฺจํ ขตฺติยา. ณ ปัจ. อา อิต.
  31. ฉพฺยาปุตฺต : (ปุ.) ฉัพยาบุตร ชื่อตระกูลช้าง ชื่อพญานาคราช.
  32. ชาคริยา : (อิต.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ. ชาครเมว ชาคริยา. ย ปัจ. อิอาคม. ส.ชาคฺริยา.
  33. ติยามา : (อิต.) กลางคืน วิ. ตโย ยามา เอตฺถาติ ติยามา.
  34. นิยฺยาเทติ : ก. ดู นิยฺยาเตติ
  35. นียาเทติ : ก. ดู นิยฺยาเทติ
  36. นียานิก : ค. ดู นิยฺยานิก
  37. พฺยาปาท : (ปุ.) ความจำนงภัย, ความขึ้งเครียด, ความป้องร้าย, ความผูกใจเจ็บและอยากแก้แค้น, ความพยาบาท. วิ. วฺยาปชฺชติ วินสฺสติ จิตฺต เมเตนาติ วฺยาปาโท พฺยาปาโท วา. วิ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติมฺหิ, อ. เจตสิกธรรมอันยังประโยชน์เกื้อกูลและความสุขให้ฉิบหาย.
  38. ยาจก ยาจนก : (ปุ.) คนขอทาน วิ. ยาจตีติ ยาจโก. ณฺวุปัจ. ยาจนํ กโรตีติ ยาจนโก. กฺวิปัจ. ลบที่ธาตุ หรือ ยาจฺ ธาตุ ยุ ปัจ. ก สกัด อภิฯ.
  39. ยาทิส ยาทิกฺข ยาริส ยาที : (วิ.) ผู้เช่นใด, ฯลฯ. วิ. ย มิว นํ ปสฺสติ โย วิย ทิสฺสตีติ วา ยาทิโส ยาทิกฺโข วา ยารฺโส วา ยาที วา. รูปฯ ๕๗๒.
  40. สีหเสยฺยา : (อิต.) การนอนราวกะว่าสีหะ, สีหเสยยา สีหไสยา คือ การนอนตะแคงขวา.
  41. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  42. อกฺขฺยา : (อิต.) ชื่อ, นาม.อาปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, อ, อิตฺถิยํ อา, รสฺโส, กฺสํโยโค.
  43. อคท : (ปุ. นปุ.) สิ่งที่เป็นปฏิปักษ์แก่โรค, ยา, ยาประเสริฐ. วิ. โค วุจฺจติ ทุกฺขํ, ตํเทติ คโท, โรโค; น วิชฺชเต คโท ยสฺมึ โสอคโท. ส. อคท.
  44. อพฺยาเสกอวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิดจิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอพฺยาเสกํ.นวิอาสิจฺธาตุอภิฯลงอปัจ.ฏีกาอภิฯลงณปัจ.
  45. อพฺยาเสก อวฺยาเสก : (วิ.) อันยังปิติแห่งจิตและ นัยน์ตาให้เกิด จิตฺตสฺส อกฺขิโน จ ปิติชนกํ วตฺถุ อพฺยาเสกํ. น วิ อา สิจฺธาตุ อภิฯ ลง อ ปัจ. ฏีกาอภิฯ ลง ณ ปัจ.
  46. อภยา : (อิต.) สมอ, ต้นสมอ.วิ.นวิชฺชเตโรคภยํโรคฏฺฐาเนปยุชฺชมานายมสฺสมิติอภยา.
  47. อภิกฺขฺยาอภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี.อภิปุพฺโพ, ขฺยาปกาสเน, กฺวิ.
  48. อภิกฺขฺยา อภิขฺยา : (อิต.) ชื่อ, รัศมี. อภิปุพฺโพ, ขฺยา ปกาสเน, กฺวิ.
  49. อภิวฺยาเปติ : ก. ดู อภิพฺยาเปติ
  50. อากฺขฺยาอาขฺยา : (อิต.) นาม, ชื่อ. วิ.อาขฺยายเตเอตายาติอากฺขฺยาอาขฺยาวา.อาปุพฺโพ, ขฺยา ปกถเน, อ.อภิฯลงกฺวิ ปัจ.ศัพท์ต้นซ้อนกฺ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-565

(0.0769 sec)