Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สงบ , then สงบ, สงป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สงบ, 86 found, display 1-50
  1. นิพฺพายติ : ก. เย็น, ดับ, สงบ
  2. นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
  3. ปสมฺมติ : ก. ระงับ, สงบ, ดับ, เหือดแห้ง
  4. วูปสมติ : ก. บรรเทา, สงบ
  5. อสทฺท : (วิ.) ไม่มีเสียง, นิ่ง, สงบ, เงียบ.
  6. อสปตฺต : ค. ไม่มีปฏิปักษ์, ไม่มีศัตรู, สงบ
  7. อสาหส : นป., ค. ไม่รุนแรง, ไม่ผลุนผลัน, เยือกเย็น, สงบ
  8. กายคุตฺต : ค. ผู้มีร่างกายอันคุ้มครองแล้ว, ผู้รักษากายได้แล้ว, ผู้มีกายสงบ
  9. กายคุตฺติ : อิต. การคุ้มครองร่างกาย, ความสงบแห่งกาย
  10. กายปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับแห่งนามธรรมหรือเจตสิก, ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
  11. โขเภติ : ก. สะดุ้ง, กระเพื่อม, หวั่นไหว, ไม่สงบ
  12. จิตฺตปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
  13. จิตฺตวูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
  14. จิตฺตสมถ : ป. ความสงบแห่งจิต
  15. เจโตสมถ : (ปุ.) ความสงบแห่งจิต.
  16. ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธินิสฺสร – ณวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยสามารถ แห่งองค์นั้นๆ และความหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันข่ม และหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันสงบเฉพาะและความหลุดพ้นด้วยสามารถแห่งอันออกไป.
  17. ทุกฺขูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งทุกข์, ความหมดทุกข์
  18. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  19. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  20. นิชฺฌตฺติ : ๑. ค. อันดับ, ซึ่งสงบ, ซึ่งระงับ, ๒. อิต. ความเห็น, ความเข้าใจ, ความประจักษ์แจ้ง
  21. นิพฺพาณ : นป. พระนิพพาน, การดับ, การทำลาย, ความสงบเย็น
  22. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  23. นิพฺพานธาตุ : อิต. นิพพานธาตุ, ธาตุแห่งความสงบเย็น
  24. นิวาต : (วิ.) มีลมออกแล้ว, ไม่จองหอง, ไม่ พองตัว, ไม่เย่อหยิ่ง สงบ, เสงี่ยม, สงบเสงี่ยม, เจียมตัว, สุภาพ, เรียบร้อย, สุภาพเรียบร้อย, อ่อนโยน, ละมุนละม่อม. ส. นิวาต.
  25. นิสฺสทฺท : ค. ไม่มีเสียง, เงียบสงบ
  26. ปฏิปฺปสฺสทฺธ : กิต. สงบระงับแล้ว
  27. ปฏิปฺปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับ, ความสงบเยือกเย็นภายในจิตใจ
  28. ปฏิปฺปสฺสมฺภติ : ก. สงบระงับ
  29. ปฏิสลฺลาน : นป. การหลีกเร้น, การปลีกตัวเพื่อหาความสงบ
  30. ปฏิสลฺลียติ : ก. หลีกเร้น, ปลีกตัวหลบอยู่ (ในที่สงบ)
  31. ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
  32. ปวิวตฺต : กิต. แยกออก, ไม่รวมกัน, สงบสงัด
  33. ปวิเวก : ป., ปวิเวกตา อิต. ความสงบสงัด, การแยกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว
  34. ปวิเวกิย : ค. อันเกี่ยวเนื่องด้วยความสงบ
  35. ปสฺสทฺธ : ค. สงบ, ระงับ, เงียบ
  36. ปสฺสทฺธตา, ปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบ, ความระงับ, ความเงียบ
  37. ปสฺสมฺภติ : ก. สงบ, ระงับ, เงียบ
  38. ปสฺสมฺภนา : อิต. ความสงบ, ความระงับ
  39. ปสฺสมฺเภติ : ก. ทำให้สงบ, ทำให้ระงับ
  40. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  41. โมน : (นปุ.) ความนิ่ง, ความสงบ. วิ. มุนิโน กมฺมํ โมนํ. ณ ปัจ.
  42. ลาเลติ : ก. ทำให้สงบ, ปรบ, กล่อมให้นอน
  43. วูปสม : ป. ความเข้าไปสงบ
  44. วูปสเมติ : ก. บรรเทา, เข้าไปสงบ
  45. สนฺต : กิต. สงบระงับแล้ว
  46. สนฺติ : ๑. อิต. ความสงบ; ๒. ก. มีอยู่
  47. สนฺนิสินฺน : กิต. นั่งสงบแล้ว, นั่งประชุม
  48. สนฺนิสีทติ : ก. นั่งสงบ
  49. สปฺปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้สงบแล้ว, สัปปุรุษ, สัปบุรุษ, สัตบุรุษ(คนสัมมาทิฏฐิ). วิ. สนฺโต ปุริโส สนปฺปุริโส, แปลง สนฺต เป็น ส ซ้อน ปฺ. ส. สตฺปุรุษ.
  50. สมก : (ปุ.) ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากอุปกิเลส, ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต, ความสงบระงับของจิต.
  51. [1-50] | 51-86

(0.0213 sec)