Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สบาย , then สบาย, สปาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สบาย, 48 found, display 1-48
  1. เขม : (วิ.) ดี, งาม, เจริญ, ประเสริฐ, สบาย, สบายใจ, ปลอด, ปลอดภัย, ปลอดโปร่ง, สำราญ, เป็นมงคล, เกษม. วิ. ขียเตตฺถ อสุภนฺติ เขมํ. ขี ขเย, โม.
  2. นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
  3. นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
  4. พทฺท : (วิ.) งาม, ดี, เจริ, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, สุข, สบาย, สำราญ. ภทิ กลฺยาเณ, โท. แปลง ภ เป็น พ.
  5. ภทฺท : (วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
  6. สิสิร : (วิ.) เย็น, สบาย, เป็นอยู่ดี. สสฺ สุสสเน, อิโร, อสฺสิ. สิสฺ อิจฺฉายํ วา. หนาว ก็แปล. ส. ศิศิร.
  7. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  8. สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
  9. อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
  10. อนามย : (วิ.) มิใช่คนเจ็บไข้, ไม่มีความเจ็บไข้, มิใช่ความเจ็บไข้, สุข, สบาย, สุขสบาย, เป็นสุข.
  11. สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
  12. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  13. สุนนฺท : (วิ.) เป็นที่ยินดี, เป็นที่เพลิดเพลิน, ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, สบาย.
  14. อโรค : (วิ.) ไม่มีโรค, ไม่มีไข้, ไม่เป็นโรค, ไม่เป็นไข้, สบาย.
  15. กณฺณสุข : (วิ.) เพราะหู, ไพเราะหู, สบายหู, เสนาะหู, สะดวกแก่หู, สะดวกหู.
  16. คท : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. คํ วุจฺจติ ทุกฺขํ. ตํ เทตีติ คโท. คปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. คท.
  17. คิลาน : (วิ.) สิ้นความสำราญ, เจ็บไข้, เป็นไข้, ไม่สบาย.
  18. คิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, หมดแรง, เหนื่อย, ระบม, ไม่สบาย
  19. เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
  20. ทุกฺข : (วิ.) ยาก, ลำบาก, ชั่ว, เดือดร้อน, ไม่ สบาย, ทุกข์. ทุกฺข ตกฺกิริยายํ, อ.
  21. ทุกฺขเสยฺยา : อิต. การนอนอันเป็นทุกข์, การนอนไม่สบาย
  22. นิราตงฺก : ค. สบาย, มีสุขภาพดี, ปราศจากโรค
  23. ผาสุ : (นปุ.) ความอิ่มใจ, ความพอใจ, ความยินดี, ความสำราญ, ความสุข, ความสบาย. ผสฺสฺ สินิเยฺห, ณุ. ลบ สฺ สังโยคทีฆะต้นธาตุ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ
  24. ผาสุวิหารธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่สบาย, ธรรมเป็นที่อยู่สบาย.
  25. ยถาสุข : ก. วิ. ตามสะดวกสบาย, อย่างสะดวกสบาย
  26. โรค : ป. โรค, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย
  27. วิตฺติ : อิต. ความยินดี, ความสบาย
  28. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  29. สุปฺป : (นปุ.) กระด้ง ชื่อภาชนะสานด้วยตอกไม้ไผ่ที่เอาผิวไว้ ตอกเส้นใหญ่และหนาหน่อย เป็นภาชนะแบนกลมใหญ่ มีขอบหนากลมใหญ่มือจับได้สบาย สำหรับฝัดข้าวโบกลม วิ. สุปนฺติ เอตฺถิ สุนขาทโยติ สุปฺปํ. สุปฺ สยเน, โป. สุปฺปฺ หนเน วา, อา. สรติ อเนนาติ วา สุปฺปํ. สร. คติยํ, โป, ทฺวิตฺตํ, รฺโลโป, อสฺสุ. สุปฺ มาเนวา, โป. ส. สูรฺป, สูรฺปฺป.
  30. สุสุข : (วิ.) สบายดี, สำราญดี.
  31. โสขย : นป. ความสุข, ความสบาย
  32. โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
  33. หทยงฺคม : (ไตรลิงค์.) ถ้อยคำอันพอใจ, ถ้อยคำอันสบายหู, คำถูกใจ, คำพอใจ, คำจับใจ. วิ. หทยํ มนํ คจฺฉติ ปวิสตีติ หทยงฺคมํ. หทยปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.
  34. หิลาท : (วิ.) สบาย, สำราญ, ทำความสบาย, ทำความสำราญ. หิลาทิ สุเข. อ.
  35. หิลาทน : (นปุ.) ความสบาย, ฯลฯ.
  36. อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
  37. อคิลาน : (วิ.) ไม่เจ็บไข้, ไม่เป็นไข้, ไม่เป็นโรค, สบายดี.
  38. อผาสุ : ค. ไม่ผาสุก, ไม่สบาย
  39. อผาสุก : ก. วิ. อย่างไม่สบาย
  40. อสปฺปาย : (วิ.) ไม่สบาย, ไม่สำราญ, ไม่เป็นสุข
  41. อากิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, ไม่สบาย
  42. อาคิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, เจ็บปวด, ไข้, ไม่สบาย
  43. อาตกอาตงฺก : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบายความรำคาญ, ความกังวล, ความห่วงใย, ความเร่าร้อน, ความดือดร้อน, โรค.วิ.อาภุโสตํกตีติอาตํโกอาตงฺโกวา.อาปุพฺโพกติกิจฺฉชีวเน, อ.ส.อาตงฺก.
  44. อาพาธ : (ปุ.) โรคอันเบียดเบียนโดยยิ่ง, ความเบียดเบียนยิ่ง, ความไม่สบาย, ความป่วย, ความป่วยไข้, ความเจ็บไข้, โรค.วิ.อาพาธติจิตฺตํวิโลเฬตีติอาพาโธ.อาปุพฺโพ พาธฺ วิโลฬเน, อ.ส. อาพาธ.
  45. อามย : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย, โรค.วิ.อามยติรุชฺชตีติอามโย.อาปุพฺโพ, มยฺคติมฺหิ, อ. อาภุโส มิโนติอตฺตสมงฺคีนนฺติวาอามโย.อาปุพฺโพ, มิหึสายํ, โณ.อมฺวาโรเค, โย, ทีโฆ.ส. อามย.
  46. อาฬฺหิย, - หิก : ค. ร่ำรวย, สุขสบาย, มีโชค
  47. อุตุสปฺปาย : ป. ฤดูที่สบาย, เวลาที่สะดวกสบาย
  48. คุยฺหปุริส : ป. สปาย, ผู้สืบความลับ, สายลับ, สายสืบ
  49. [1-48]

(0.0190 sec)