Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สมัยก่อน, สมัย, ก่อน , then กอน, ก่อน, สมย, สมยกอน, สมัย, สมัยก่อน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สมัยก่อน, 169 found, display 1-50
  1. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  2. นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
  3. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  4. อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
  5. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  6. ตาว : (อัพ. นิบาต) ตราบนั้น, เพียงนั้น, เท่านั้น, โดยแท้, แน่แท้, ก่อน, แรก.
  7. ปมุข : (วิ.) เลิศ, ประเสริฐ, สูงสุด, ก่อน, แรก, แรกเริ่ม, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, เป็นที่พึ่ง, เป็นใหญ่, เป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, โดย ความเป็นประธาน, เป็นหัวหน้า, เป็น ประธาน, เป็นประมุข. ปกฏฺฐปุพฺโพ, ปธานปุพฺโพ, วา, ปปุพฺโพ. วา, มุ พนฺธเน, โข.
  8. ปุราตน : (วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
  9. โปราณ โปราณก : (วิ.) เป็นของมีในก่อน, เป็นของมีในกาลก่อน, มีในก่อน, มีในกาลก่อน, เป็นของเก่า, เป็นของเก่าแก่, เก่า, เก่าแก่, ก่อน, เดิม.
  10. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  11. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  12. อาท : (วิ.) ต้น, ก่อน, แรก.
  13. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  14. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  15. กาลนฺตร : นป. ระหว่างกาลเวลา, กาล, สมัย
  16. ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
  17. ยุค : (ปุ.) คราว, สมัย, กัปป์ (ยุค), ยุค, แอก, คู่. กำหนดเวลาของโลกมี ๔ ยุค คือ กฤดายุค ไตรดายุค ทวาปรยุค และกลียุค. ยุคที่อยู่กันนี้เป็นกลียุค เป็นยุคเสื่อมกว่ายุคก่อนๆ.
  18. เวลา : อิต. กาล, คราว, สมัย
  19. สมย : (ปุ.) ขณะ, ครั้ง, ครา, คราว, หน, กาล, เวลา, ฤดู, โอกาส. วิ. สํ ปุนปฺปุนํ เอติ อยติ วาติ สมโย. สํปุพฺโพ, อิ อยฺ วา คติยํ, อ. การได้, การถึง, การเห็น, ความเห็น, ลัทธิ, มติ, ทิฏฐิ, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงแห่งเหตุ, การณะ, เหตุการประชุม, หมวด, หมู่, กอง, คณะ. วิ. สมนฺตโต อยนํ คติ สมโย. การแทงตลอด, ฯลฯ. วิ. สํสุฎชุ สมฺมา วา อวิปริตากาเรน อยิตพฺโพ ญาตพฺโพติ สมโย. การละ, การสละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง. ส. สมย.
  20. ปุรโต : (อัพ. นิบาต) ข้างหน้า, ในเบื้องหน้า, ก่อน.
  21. สามายิก : (วิ.) อันมีในสมัย. สมย+ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. ทีฆะ อ ที่ ส และ ม เป็น อา.
  22. จริม จริมก : (วิ.) ก่อน, แรก, หลัง, สุด, สุกท้าย, เสร็จ จร ศัพท์ อิม ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด
  23. ปฏิกจฺจ : ค. ก่อน, ด่วน, ล่วงหน้า
  24. ปฐม : อ. ก่อน, ครั้งแรก
  25. ปถม : (วิ.) ก่อน, แรก, เบื้องต้น, ครั้งแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ดั้งเดิม, ต้น, เบื้องต้น, เป็นประธาน. ดู ปฐม ด้วย.
  26. ปุพฺพ : (อัพ. นิบาต) ก่อน, แรก, ฯลฯ, ในกาลก่อน
  27. ปุเร : (อัพ. นิบาต) ก่อน, ในก่อน, ในกาลก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  28. อคฺคโต : (อัพ. นิบาต) ก่อน, หน้า, ข้างหน้า.
  29. อาทิ : (วิ.) ก่อน, แรก, ต้น, เป็นต้น, ปฐม, ถือเอา, อัน...ย่อมถือเอา.วิ. อาทียเตปฐมํคณฺหียเตติอาทิ.อาทียตีติวาอาทิ.อาปุพฺโพ, ทาอาทาเน, อิ.ส.อาทิ.
  30. จีวรกาลสมย : ป. สมัยจีวรกาล, คราวที่ทรงอนุญาตให้ (พระภิกษุสงฆ์) รับจีวรได้
  31. จีวรทานสมย : ป. สมัยถวายจีวรในจีวรกาล
  32. ปุพฺพณฺหสมย : (ปุ.) สมัยเป็นเบื้องต้นแห่งวัน, ฯลฯ.
  33. พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  34. มชฺฌนฺติกสมย : (ปุ.) สมัยแห่งพระอาทิตย์มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  35. มหาสมย : (ปุ.) ครั้งใหญ่, คราวใหญ่, ครวาประชุมใหญ่, มหาสมัย.
  36. สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
  37. อสมย : ป. ไม่ใช่สมัย, ไม่ใช่เวลา
  38. กตปุพฺพ : (วิ.) อัน...ทำแล้วในกาลก่อน วิ. ปุพฺเพ กตํ กตปุพฺพํ. กลับบทหน้าไว้หลัง อัน...เคยทำแล้ว.
  39. กลห : (ปุ.) วาทะเป็นที่โต้เถียง วิ. กลหนฺติ อสฺมินฺติ กลโห. กลหฺ กุจฺฉเน, อ. วาจา เป็นเครื่องโต้เถียง วิ. กลียติ ปริมียติ อเนน สูรภาวนฺติ กลโห. กลฺ สํยฺ ยาเณ, โห. ลง อ ปัจ. ประจำธาตุก่อนแล้วลง ห ปัจ. การ ทะเลาะ, การวิวาท, ความทะเลาะ. ความวิวาท, ความทุ่มเถียง วิ. กลหนํ กลโห. ส. กลห.
  40. กลิยุคฺค : ป. กลียุค, สมัยที่ทุกข์ยาก, ยุคร้าย
  41. กสิณปริกมฺม : นป. กิจเบื้องต้นคือการเตรียมหาวัตถุก่อนที่จะลงมือเพ่งกัมมัฏฐาน
  42. กาลจฺจย : (ปุ.) สมัยอันเป็นไปล่วงแห่งกาล, ความเป็นไปล่วงแห่งกาล, กาลอันเป็น ไปล่วง.
  43. กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
  44. กุทฺธปุพฺพ : (วิ.) โกรธแล้วในก่อน, โกรธแล้ว ในกาลก่อน, เคยโกรธแล้ว.
  45. ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
  46. จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
  47. จิร : (อัพ. นิบาต) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน, สิ้นกาลนาน, สิ้นกาลช้านาน. ลงในทิฆกาล รูปฯ ๒๘๒ อภิฯ เป็นสัตมี ด้วย แปลว่า ในก่อน, ในกาลก่อน.
  48. จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
  49. จุณฺณียปท : (นปุ.) บทบาลีเล็กน้อย, จุณณียบท คือบทบาลีที่ยกขึ้นแสดงแต่เล็กน้อยก่อนที่ จะแสดงเนื้อความพิศดาร.
  50. จุลปิตุ จุลฺลปิตุ จุฬปิตุ จูฬปิตุ : (ปุ.) บิดาน้อย, อา ( น้องของพ่อ แต่ก่อนเขียนอาว์ ).
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-169

(0.0889 sec)