Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สัมผัส , then สมฺผสฺ, สัมผัส .

Eng-Thai Lexitron Dict : สัมผัส, more than 7 found, display 1-7
  1. contact : (VI) ; สัมผัส ; Syn:touch
  2. contact : (VT) ; สัมผัส
  3. sense : (VT) ; สัมผัส ; Related:รู้สึก
  4. touch : (VT) ; สัมผัส ; Related:แตะ, จับ ; Syn:rub, pat, nudge, finger
  5. touch : (VI) ; สัมผัส ; Related:แตะ, จับ ; Syn:rub, pat, nudge, finger
  6. brush past : (PHRV) ; สัมผัส (บางสิ่ง) เบาๆ ; Related:แตะ(บางสิ่ง)เบาๆ
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : สัมผัส, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สัมผัส, more than 7 found, display 1-7
  1. สัมผัส : (V) ; connect ; Related:relate, be close ; Syn:ใกล้ชิด, คลุกคลี ; Samp:พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงออกเยี่ยมราษฎรอยู่เป็นเนืองนิตย์ ทรงสัมผัสกับปัญหาต่อเนื่องยาวนาน
  2. สัมผัส : (V) ; rhyme ; Related:alliterate ; Def:คล้องจองกัน ; Samp:กลอนบทนี้สัมผัสกันได้ไพเราะมาก
  3. สัมผัส : (V) ; touch ; Related:impact, be contiguous, be in control, perceive ; Syn:ถูกต้อง, แตะต้อง, กระทบ ; Samp:ผมก็ได้แต่อยู่ห่างๆ เธอ แม้ว่าอยากจะไปสัมผัสชิดใกล้
  4. สัมผัส : (N) ; rhyme ; Syn:จังหวะ
  5. สัมผัส : (V) ; touch ; Syn:จับต้อง, แตะ, แตะต้อง
  6. สัมผัส : (N) ; sense
  7. สัมผัส : (V) ; feel ; Related:perceive ; Syn:รับรู้, รู้สึก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สัมผัส, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สัมผัส, more than 5 found, display 1-5
  1. สัมผัส : ก. ถูกต้อง, แตะต้อง, กระทบกัน, เช่น มีใครมาสัมผัสไหล่ พยายาม ให้เท้าสัมผัสหญ้าเสียบ้าง จะได้มีสุขภาพดี สัมผัสมือกัน; คล้องจองกัน เช่น คําในกลอนบทนี้สัมผัสกันดี. น. การถูกต้องที่ให้เกิดความรู้สึก เช่น ประสาทสัมผัส, การแตะต้อง, การกระทบกัน, เช่น พอออกไป ข้างนอกก็สัมผัสอากาศเย็นเฉียบ; ความคล้องจองของถ้อยคํา เช่น ในนํ้ามีปลาในนามีข้าว; (วรรณ) ข้อบังคับที่ใช้ในฉันทลักษณ์เพื่อให้ เสียงรับกัน. (ป. สมฺผสฺส; ส. สํสฺปรฺศ).
  2. สัมผัสนอก : น. สัมผัสนอกวรรคหรือระหว่างวรรคตามข้อบังคับแห่ง ฉันทลักษณ์ซึ่งเป็นสัมผัสสระและไม่ซ้ำเป็นคำเดียวกัน เช่น (รูปภาพ กลอน) (อภัย), (ตะเลงพ่าย).
  3. สัมผัสใน : น. สัมผัสที่อยู่ภายในวรรคเพื่อเพิ่มเสียงไพเราะ มีได้ทั้งสัมผัสสระ และสัมผัสอักษร เช่น (รูปภาพ ถึงโคกฆ้องหนองสะพานบ้านกะเหรี่ยง เห็นโรงเรียงไร่ฝ้ายทั้งซ้ายขวา). (ขุนช้างขุนแผน), ในโคลงหมายรวม ถึงสัมผัสสระและสัมผัสอักษรที่อยู่ระหว่างวรรคในบาทเดียวกันด้วย คือ คำสุดท้ายของวรรคแรกสัมผัสกับคำแรกของวรรคหลัง เช่น อ้าศรีเสาวภาคย์เพี้ยง เพ็ญแข. (ตะเลงพ่าย).
  4. สัมผัสสระ : น. สัมผัสที่มีเสียงสระหรือเสียงสระกับตัวสะกดในมาตรา เดียวกัน เช่น (รูปภาพ อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ. (เพลงยาวถวาย โอวาท), คนใจจืดชืดชื้อเหมือนชื่อบาง ควรตีห่างเหินกันจนวันตาย). (นิ. วัดสิงห์).
  5. สัมผัสอักษร : น. สัมผัสพยัญชนะที่มีพยัญชนะต้นตัวเดียวกันหรือเสียงพ้องกัน เช่น จําใจจําจากเจ้า จําจร. (ตะเลงพ่าย), คูนแคขิงข่าขึ้น เคียงคาง. (หลัก ภาษาไทยของกำชัย ทองหล่อ).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สัมผัส, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สัมผัส, more than 5 found, display 1-5
  1. สัมผัส : ความกระทบ, การถูกต้องที่ให้เกิดความรู้สึก, ความประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ มี ๖ เริ่มแต่ จักขุสัมผัส สัมผัสทางตา เป็นต้น จนถึง มโนสัมผัส สัมผัสทางใจ (เรียงตามอายตนะภายใน ๖); ผัสสะ ก็เรียก
  2. มโนสัมผัส : อาการที่ใจ ธรรมารมณ์ และมโนวิญญาณประจวบกัน ดู สัมผัส
  3. กายสัมผัส : สัมผัสทางกาย, อาการที่กาย โผฏฐัพพะ และ กายวิญญาณ ประจวบกัน
  4. กายสัมผัสสชาเวทนา : เวทนาที่เกิดขึ้นเพราะกายสัมผัส, ความรู้สึกที่เกดขึ้นเพราะการที่กาย โผฏฐัพพะและกายวิญญาณประจวบกัน
  5. ฆานสัมผัสสชาเวทนา : เวทนาที่เกิดขึ้นเพราะฆานสัมผัส, ความรู้สึกที่เกิดขึ้นเพราะการที่จมูก กลิ่น และฆานวิญญาณประจวบกัน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สัมผัส, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สัมผัส, more than 5 found, display 1-5
  1. อุปสมฺผสฺสติ : ก. กอด, รัด, สัมผัส
  2. ผสฺสติ : ก. ถูกต้อง, สัมผัส; ได้รับ; ถึง, บรรลุ
  3. ผุสติ : ก. ถูกต้อง, สัมผัส, บรรลุ, ได้รับ; เป็นประกาย; โปรย, พรม
  4. ผุสียติ : ก. (อันเขา) ถูกต้อง, สัมผัส
  5. ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สัมผัส, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สัมผัส, 2 found, display 1-2
  1. กอด, รัด, สัมผัส : อุปสมฺผสฺสติ [ก.]
  2. กระทบ, สัมผัส, ถูกต้อง : อาผุสติ [ก.]

(0.1300 sec)