Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สามัญ .

Eng-Thai Lexitron Dict : สามัญ, more than 7 found, display 1-7
  1. middlebrow : (SL) ; สามัญ ; Related:ชนชั้นกลาง
  2. conventional : (ADJ) ; ธรรมดา ; Related:สามัญ
  3. lowly : (ADJ) ; ธรรมดา ; Related:สามัญ ; Syn:commonplace, ordinary
  4. mediocrity : (N) ; ความธรรมดา ; Related:สามัญ ; Syn:commonplaceness
  5. plebeian : (N) ; สามัญชน ; Syn:pleb
  6. plebs : (N) ; สามัญชน ; Related:ประชาชน, คนทั่วไป
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : สามัญ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สามัญ, more than 7 found, display 1-7
  1. สามัญ : (ADJ) ; common ; Related:ordinary, normal, usual ; Syn:ปกติ, ธรรมดา ; Ant:พิเศษ ; Samp:บุคคลสามัญย่อมไม่อาจจะระลึกรู้ถึงอดีตชาติของตนได้
  2. สามัญ : (ADJ) ; ordinary ; Related:common ; Syn:ปกติ, ธรรมดา ; Ant:วิสามัญ
  3. สามัญชน : (N) ; ordinary people ; Related:folk, commoner, people, common people ; Syn:คนธรรมดา ; Def:คนที่ไม่ใช่เจ้านาย ; Samp:คนที่เป็นทั้งสามัญชนย่อมสามารถเป็นอัจฉริยบุคคลพร้อมๆ กันไปด้วย ถ้าปฏิบัติได้ดังถ้อยคำที่กล่าวไว้
  4. สามัญศึกษา : (N) ; elementary education ; Related:general education ; Ant:วิสามัญศึกษา ; Def:การเรียนวิชาทั่วไป ; Samp:ในระบบการศึกษานั้น จะมีแต่ระบบสามัญศึกษาอย่างเดียวไม่ได้ ต้องมีวิสามัญศึกษาสอนวิชากสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชยการด้วย
  5. สามัญชน : (N) ; commoner ; Related:commonalty, common people ; Syn:คนธรรมดา ; Ant:เชื้อพระวงศ์
  6. สามัญนาม : (N) ; common noun ; Syn:สามานยนาม, คำสามานยนาม, คำสามมัญนาม ; Ant:วิสามานยนาม ; Def:คำนามที่เป็นชื่อทั่วไปของคน สัตว์ และสิ่งของ ; Unit:คำ
  7. วิสามัญ : (ADJ) ; extraordinary ; Related:special, unusual, uncommon, specific, particular ; Syn:ไม่ใช่สามัญ, ไม่ใช่ธรรมดา, เฉพาะเรื่อง ; Samp:รัฐบาลจะประสานงานกับประธานสภา เพื่อขอเปิดสภาสมัยวิสามัญในวันที่ 13 กรกฎาคม ; Unit:สามัญ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สามัญ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สามัญ, more than 5 found, display 1-5
  1. พล, พล : [พน, พนละ, พะละ] น. กําลัง, มักใช้ประกอบคําอื่น เช่น พระทศพล อันเป็นพระนามพระพุทธเจ้า หมายความว่า ทรงมีพระญาณอันเป็น กำลัง ๑๐ ประการ มี ฐานาฐานญาณ คือ ปรีชาหยั่งรู้ฐานะและสิ่งที่มิใช่ ฐานะเป็นต้น; ทหาร เช่น กองพล ตรวจพล ยกพลขึ้นบก; สามัญ, ธรรมดา ๆ, พื้น ๆ, เช่น ของพล ๆ; ยศทหารและตํารวจสัญญาบัตร รองจากจอมพล (เดิมใช้ว่า นายพล). (ป., ส.).
  2. ยาสามัญประจำบ้าน : (กฎ) น. ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณ ที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็นยาสามัญประจำบ้าน.
  3. ห้างหุ้นส่วนสามัญ : (กฎ) น. ห้างหุ้นส่วนประเภทหนึ่ง ซึ่งผู้เป็นหุ้นส่วน หมดทุกคนต้องรับผิดร่วมกันเพื่อหนี้ทั้งปวงของหุ้นส่วนโดยไม่มีจํากัด ห้างหุ้นส่วนสามัญจะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ แต่เมื่อได้จดทะเบียนแล้ว จึงจัดว่าเป็นนิติบุคคลต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งรวมเข้ากันเป็นห้าง หุ้นส่วนนั้น.
  4. บุริมสิทธิสามัญ : (กฎ) น. บุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินทั้งหมดของ ลูกหนี้.
  5. หุ้นสามัญ : (กฎ) น. หุ้นธรรมดาของบริษัทจำกัด ซึ่งแบ่งทุนออกเป็นหุ้นมี มูลค่าหุ้นละเท่า ๆ กันและผู้ถือหุ้นมีความรับผิดเพียงไม่เกินจำนวนหุ้น ที่ตนส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สามัญ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สามัญ, more than 5 found, display 1-5
  1. สามัญ : ๑.ปรกติ, ธรรมดา, ทั่ว ๆ ไป ๒.ความเป็นสมณะ; มักเขียนสามัญญะ
  2. สามัญผล : ผลแห่งความเป็นสมณะ; ดู สามัญญผลสูตร
  3. สามัญญผลสูตร : สูตรที่ ๒ ในคัมภีร์ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค พระสุตตันตปิฏก ว่าด้วยผลของความเป็นสมณะคือประโยชน์ที่จะได้จากการดำรงเพศเป็นสมณะ หรือบำเพ็ญสมณธรรม
  4. สามัญญลักษณะ : ลักษณะที่เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง ได้แก่ ๑.อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ๒.ทุกขตา ความเป็นทุกข์หรือความเป็นของคงทนอยู่มิได้ ๓.อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตัวตนแสดงความตามบาลีดังนี้ ๑.สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจา สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ๒.สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขา สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ๓.สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมทั้งปวงมิใช่ตัวตน; ลักษณะเหล่านี้มี ๓ อย่าง จึงเรียกว่า ไตรลักษณ์, ลักษณะเหล่านี้เป็นของแน่นอน เป็นกฎธรรมดา จึงเรียกว่า ธรรมนิยาม
  5. สามัญญสโมธาน : ดู โอธานสโมธาน
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สามัญ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สามัญ, more than 5 found, display 1-5
  1. นิรุฬฺห : ค. งอกขึ้น, เจริญขึ้น, ปกติ, ธรรมดา, สามัญ
  2. ปากฏ : ค. ปรากฏแล้ว, รู้แล้ว, มีชื่อเสียง; ซึ่งคุ้มครองไม่ได้; สามัญ; เลว
  3. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  4. คาวี : (อิต.) นางโค, แม่โค, แม่โคสามัญ. วิ. คจฺฉตีติ คาวี. คมฺ คติยํ, อี. อภิฯ น. ๔๐๓. ถ้าตั้ง โค ศัพท์แปลง โอ เป็น อาว อี, อิต.
  5. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สามัญ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สามัญ, 1 found, display 1-1
  1. สามัญ, ทั่วไป : สามญฺญ, สาธารณ

(0.0533 sec)