Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนึก .

Eng-Thai Lexitron Dict : สำนึก, more than 7 found, display 1-7
  1. recognise : (VT) ; สำนึก ; Syn:perceive
  2. recognize : (VT) ; สำนึก ; Syn:perceive
  3. appreciate : (VT) ; สำนึกบุญคุณ ; Related:เห็นคุณค่า, สำนึกคุณค่า ; Syn:thank, welcome, be appreciative
  4. contrite : (ADJ) ; สำนึกผิด ; Related:รู้สึกผิด ; Syn:remorseful, ruthful, sorry
  5. repent : (VI) ; สำนึกผิด ; Related:รู้สึกผิด ; Syn:be penitent, be sorry
  6. find : (VT) ; รู้สึก (ความพึงพอใจ) ; Related:สัมผัสรู้, สำนึก ; Syn:feel, perceive
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : สำนึก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สำนึก, more than 7 found, display 1-7
  1. สำนึก : (V) ; realize ; Related:be penitent, be remorseful, be regretful, feel repentant, be apologetic ; Syn:สำนึกผิด, รู้สึกผิด ; Def:รู้ตัวว่าผิดแล้วไม่คิดจะทำต่อไปอีก ; Samp:คนทำผิดแล้วสำนึกตน เป็นคนที่น่าให้อภัย
  2. สำนึก : (V) ; be aware of ; Related:be conscious of, be mindful of, be conversant with, be familiar with ; Syn:รู้สึก, รับรู้ ; Samp:ทุกคนสำนึกอยู่ในใจดีว่า การที่ครูสั่งสอนเอาจริงเอาจังก็เพราะต้องการให้ได้ดี
  3. สำนึก : (V) ; realize ; Related:appreciate ; Syn:รู้ตัว, รับรู้
  4. สำนึก : (N) ; sense ; Related:conscience
  5. สติ : (N) ; consciousness ; Related:sense, mind ; Syn:สำนึก ; Def:ความรู้สึกตัว, ความระลึกได้, ความรู้สึกผิดชอบ ; Samp:เพื่อความไม่ประมาทในชีวิต เราทุกคนควรจะมีสติอยู่เสมอ
  6. สามัญสำนึก : (N) ; common sense ; Syn:สำนึก ; Def:ความรู้สึกธรรมดาๆ ที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ไม่ใช่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียนโดยตรง ; Samp:หากจะถามหาสามัญสำนึกจากโจรพวกนี้คงไม่ปรากฏในจิตใจของพวกมัน
  7. สำนึกตัว : (V) ; repent ; Related:be penitent, atone ; Syn:สำนึกผิด, สำนึก ; Def:รู้ตัวว่าผิดแล้วไม่คิดจะทำต่อไป ; Samp:ผมสำนึกตัวได้แล้ว และไม่มีวันที่ผมจะกลับไปเสพยานรกพวกนั้นอีก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สำนึก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สำนึก, 5 found, display 1-5
  1. รู้สำนึก : ก. รู้สึกตัวว่าผิด เช่น ถูกลงโทษอย่างหนักแล้วยังไม่รู้สำนึก.
  2. กระทำโดยเจตนา : (กฎ) ก. กระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำ และในขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผล หรือย่อมเล็ง เห็นผลของการกระทำนั้น.
  3. รู้สึก : ก. รู้ตัว เช่น ย่องไปข้างหลังอย่าให้เขารู้สึก หลับเป็นตายปลุก เท่าไรก็ไม่รู้สึก, รู้ด้วยการสัมผัส เช่น รู้สึกร้อน รู้สึกหนาว, รู้สำนึก เช่น เขารู้สึกตัวว่าทำผิด, เกิดอาการที่รู้ว่าเป็นสุขหรือทุกข์ เช่น รู้สึก สนุก รู้สึกซาบซึ้ง รู้สึกมึนศีรษะ, เกิดสังหรณ์ขึ้นในใจ เช่น รู้สึกว่า จะมีใครมาหา, มีแนวโน้มให้สันนิษฐานหรือคาดคะเนว่าจะมีอะไร เกิดขึ้น เช่น รู้สึกว่าสินค้าเกษตรจะมีราคาตกต่ำในปีนี้ ในที่สุดต้อง ยกเลิกเรื่องบางเรื่องเพราะรู้สึกว่าจะไปไม่รอด.
  4. หาไม่ ๑ : ก. ใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า ไม่, ไม่มี, เช่น เขาจะสำนึกผิด ก็หาไม่ เขาจะมีความเกรงใจสักนิดก็หาไม่; สิ้นสุด เช่น จนกว่าชีวิตจะหาไม่.
  5. ไหว้ครู : ก. ทำพิธีแสดงความเคารพสักการบูชาครูบาอาจารย์ด้วยความ สำนึกในพระคุณของท่าน.

Budhism Thai-Thai Dict : สำนึก, 5 found, display 1-5
  1. สมณสัญญา : ความสำคัญว่าเป็นสมณะ, ความกำหนดใจไว้ว่าตนเป็นสมณะ, ความสำนึกในความเป็นสมณะของตน
  2. สังเวคกถา : ถ้อยคำแสดงความสลดใจให้เกิดความสังเวชคือเร้าเตือนสำนึก
  3. สังเวควัตถุ : เรื่องที่น่าสลดใจ, เรื่องที่พิจารณาแล้วจะทำให้เกิดความสังเวช คือเร้าเตือนสำนึกให้มีจิตใจน้อยมาในทางกุศล เกิดความไม่ประมาทและมีกำลังใจที่จะทำความเพียรปฏิบัติธรรมต่อไป เช่น ความเกิด ความแก่ ความเจ็บ ความตาย และอาหารปริเยฏฐิทุกข์ คือทุกข์ในการหากิน เป็นต้น
  4. สังเวช : ความสลดใจ, ความกระตุ้นให้คิด, ความรู้สึกเตือนสำนึก; ในทางธรรมความรู้สึกสลดใจที่ทำให้คิดได้ ทำให้จิตใจหันมานึกถึงสิ่งที่ดีงาม เกิดความไม่ประมาท เพียรพยายามทำสิ่งที่เป็นกุศลต่อไป จึงจะเรียกว่า สังเวช ความสลดใจ แล้วหงอยหรอหดหู่เสีย ไม่เรียกว่าเป็นความสังเวช
  5. อชาตศัตรู : โอรสของพระเจ้าพิมพิสารกับพระนางโกศลเทวี กษัตริย์แคว้นมคธ ขณะพระนางโกศลเทวีทรงครรภ์ ได้แพ้ท้องอยากเสวยโลหิตของพระเจ้าพิมพิสาร พระเจ้าพิมพิสารทรงทราบจึงเอาพระขรรค์แทงพระชานุ (เข่า) รองพระโลหิตให้พระนางเสวย โหรทำนายว่า พระโอรสที่อยู่ในครรภ์เกิดมาจะทำปิตุฆาต พระนางโกศลเทวีพยายามทำลายด้วยการให้แท้งเสีย แต่ไม่สำเร็จ ในที่สุดคิดจะรีด แต่พระเจ้าพิมพิสารทรงห้ามไว้ เมื่อครบกำหนดประสูติเป็นกุมาร จึงตั้งพระนามพระโอรสว่า อชาตศัตรู แปลว่า เป็นศัตรูตั้งแต่ยังไม่เกิด ในที่สุดเจ้าชายอชาตศัตรูก็คบคิดกับพระเทวทัตฆ่าพระราชบิดาตามที่โหรทำนายไว้ และได้ขึ้นครองราชสมบัติแคว้นมคธ ณ กรุงราชคฤห์ แต่ทรงสำนึกและกลับพระทัยได้ หันมาทรงอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา และได้เป็นพุทธศาสนูปถัมภก ในการสังคายนาครั้งที่ ๑ (คำ “อชาตศัตรู” บางท่านแปลใหม่ว่า มิได้เกิดมาเป็นศัตรู)

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนึก, 1 found, display 1-1
  1. ปจฺฉานุตาป : ป. การตามเดือดร้อนในภายหลัง, ความสำนึกตัว

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สำนึก, not found

(0.0427 sec)