Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สู่ .

Eng-Thai Lexitron Dict : สู่, more than 7 found, display 1-7
  1. ana- : (PRF) ; สู่ ; Related:ผ่าน, ตลอด
  2. unto : (PREP) ; สู่ ; Related:แก่, ต่อ ; Syn:to, toward
  3. skyward : (ADJ) ; สู่ท้องฟ้า ; Syn:uphill, upward
  4. skyward : (ADV) ; สู่ท้องฟ้า ; Syn:uphill, upward
  5. advance towards : (PHRV) ; มุ่งหน้าสู่ ; Related:มุ่งสู่
  6. backward : (ADJ) ; กลับสู่อดีต ; Related:กลับสู่สิ่งที่ผ่านมา ; Syn:retrograde, regressive ; Ant:forward
  7. bounce back : (PHRV) ; กลับสู่สภาพปกติ ; Related:(สุขภาพ)ฟื้นคืน, คืนสู่ปกติ
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : สู่, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : สู่, more than 7 found, display 1-7
  1. สู่ : (PREP) ; to ; Related:toward ; Syn:ไปสู่ ; Def:ถึง, ไปยัง, เช่น หันหน้าสู่ทิศเหนือ ; Samp:ทางเข้าเป็นหาดทรายสีขาวยาวสู่หมู่บ้าน
  2. สู่ : (V) ; visit ; Related:call on, drop in on, stop by, look someone up ; Def:ไปเยี่ยม ; Samp:ฉันก็ไปหาไปสู่ยายกับตาอยู่เรื่อยๆ
  3. สู่ : (V) ; share ; Related:partake, distribute ; Def:แบ่งหรือปันให้ ; Samp:พวกเขาสู่กันกินอาหารที่หามาได้จากในป่าในเขา
  4. สู่ขวัญ : (V) ; welcome back ; Def:ทำพิธีเชิญขวัญ, ทำพิธีบายศรี ; Samp:ประชาชนในหมู่บ้านพากันมาสู่ขวัญลูกชายกำนันที่กลับจากต่างประเทศ
  5. เข้าสู่ : (V) ; reach ; Related:enter, approach ; Syn:ไปสู่ ; Def:เคลื่อนเข้าไปยังจุดหมายนั้น ; Samp:สินค้าส่งออกประเภทอุตสาหกรรมกำลังเข้าสู่ระดับมาตรฐานสากล
  6. ไปสู่สุขคติ : (V) ; go to heaven ; Syn:ไปสู่สวรรค์ ; Samp:ขอให้วิญญาณตำรวจผู้กล้าจงไปสู่สุขคติ
  7. มาสู่ : (V) ; come (to) ; Related:move toward, reach, arrive at ; Syn:มายัง ; Ant:ไปสู่, ไปยัง ; Samp:นายอำเภอคนใหม่นำความเจริญมาสู่จังหวัดเป็นอย่างมาก
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : สู่, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : สู่, more than 5 found, display 1-5
  1. ยัง : คำช่วยกริยาในประโยคคำถามปฏิเสธหรือประโยคปฏิเสธ โดยละกริยา นั้นไว้ให้เข้าใจเอาเอง เช่น ถามว่า จะไปหรือยัง ตอบว่า ยัง, ถ้าใช้นำหน้า คำกริยาเข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า กริยานั้นกำลังกระทำอยู่ เช่น เขายัง กินอยู่ เขายังนอนอยู่, ถ้าใช้นำหน้าคำวิเศษณ์เข้าคู่กับคำ อยู่ หมายความว่า ยังอยู่ในภาวะนั้น เช่น ยังเด็กอยู่ ยังสาวอยู่ ยังเช้าอยู่, ใช้ประกอบคำกริยา เชิงปฏิเสธที่เริ่มหรือกำหนดไว้แล้ว แต่ยังไม่เสร็จสิ้นลงไป เช่น ป่านนี้ยัง ไม่มา ทั้ง ๆ ที่น่าจะมาแล้ว, ใช้เข้าคู่กับคำอื่นเพื่อเชื่อมประโยคหน้ากับ ประโยคหลังที่มี ข้อความในลักษณะคล้ายคลึงกันให้เนื่องกัน เช่น นอกจาก โง่แล้วยัง หยิ่งอีกด้วย นอกจากสวยแล้วยังรวยอีกด้วย. ก. คงอยู่, มีอยู่, เช่น ถามว่า หมดแล้วหรือ ตอบว่า ยังมีอีก; กระทำให้ เช่น ยังชีวิตให้เป็นไป ยังใจให้ชุ่มชื่น. บ. ถึง เช่น แจ้งความมายังท่านทั้งหลาย, สู่ เช่น ไปยังบ้าน, ตลอด, ตลอดถึง, เช่น วันยังค่ำ คืนยังรุ่ง.
  2. หา ๑ : ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่ง ทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น เขาหาว่า...; พึ่ง เช่น ไม่รู้จะหันหน้าไปหาใคร; บางทีก็ใช้ควบกับคำอื่น มีความหมายว่า ขวนขวายเพื่อให้ได้มาโดยวิธีต่าง ๆ เช่น ค้นหา สืบหา เที่ยวหา ตามหา เสาะหา แสวงหา. บ. ที่ เช่น เขาอยู่หาไหน ๆ ก็ไม่รู้ จะไปตามตัวเขาได้อย่างไร; สู่ เช่น เด็กว่ายน้ำเข้าหาฝั่ง.
  3. ก้นปล่อง : น. ชื่อยุงในสกุล Anopheles วงศ์ Culicidae มีหลายชนิด ที่พบเป็นสามัญเช่น ชนิด A. minimus ยุงเหล่านี้เวลาเกาะ หรือดูดเลือดคนหรือสัตว์ หัวจะปักลง ก้นชี้ขึ้น ผนังด้านล่าง ของส่วนท้องไม่มีเกล็ด ตัวเมียมีรยางค์ที่ปากยาวออกมา ๑ คู่ เช่นเดียวกับตัวผู้ ทําให้เหมือนกับมีปากเป็นสามแฉก ตัวเมียดูดเลือดและบางชนิดเป็นพาหะในการนําโรคมาสู่คน และสัตว์ เช่น โรคมาลาเรีย ตัวผู้กินน้ำหรือน้ำหวานจากดอกไม้.
  4. กรกฎาคม : [กะระกะ-, กะรักกะ-] น. ชื่อเดือนที่ ๗ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน. (ส. กรฺกฏ = ปู + อาคม = มา = เดือนที่อาทิตย์มาสู่ราศีกรกฎ); (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๔ ตาม สุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน.
  5. กรรภิรมย์ : [กัน-] น. ฉัตร ๕ ชั้นสํารับหนึ่ง ทําด้วยผ้าขาวลงยันต์เส้นทอง ใช้ถุงปัศตูแดงสวม มี ๓ องค์ด้วยกัน คือ พระเสมาธิปัต พระฉัตรชัย พระเกาวพ่ายหรือพระเกาวพ่าห์ เป็นเครื่องสูง ใช้กางเชิญนํา พระราชยานเวลาเสด็จพระราชดําเนินโดยกระบวนพยุหยาตรา และใช้เข้าพิธีคชกรรมเชิญนําช้างเผือกขึ้นจากแพเข้าสู่โรงสมโภช หรือใช้ผูกเสาพระแท่นมณฑลในพระราชพิธีใหญ่, เขียนเป็น กรรม์ภิรมย์ กันภิรมย์ หรือ กันพิรุณ ก็มี.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : สู่, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : สู่, more than 5 found, display 1-5
  1. กุศลกรรมบถ : ทางแห่งกรรมดี, ทางทำดี, ทางแห่งกรรมที่เป็นกุศล, กรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่สุคติมี ๑๐ อย่าง คือก.กายกรรม ๓ ได้แก่ ๑.ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากทำลายชีวิต ๒.อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาของที่เข้ามิได้ให้ ๓.กาเมสุมิจฉาจาร เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกามข.วจีกรรม ๔ ได้แก่ ๔.มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ ๕.ปิสุณาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดส่อเสียด ๖.ผรุสาย วาจาย เวรมณี เว้นจากพูดคำหยาบ ๗.สัมผัปปลาปา เวรมณี เว้นจากพูดเพ้อเจ้อค.มโนกรรม ๓ ได้แก่ ๘.อนภิชฌา ไม่โลภคอยจ้องอยากได้ของเขา ๙.อพยาบาท ไม่คิดร้ายเบียดเบียนเขา ๑๐.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบตามคลองธรรม
  2. โกลังโกละ : ผู้ไปจากตระกูลสู่ตระกูล หมายถึงพระโสดาบัน ซึ่งจะต้องไปเกิดอีก ๒-๓ ภพ แล้วจึงบรรลุพระอรหัต
  3. โคตรภูญาณ : ญาณครอบโคตร คือ ปัญญาที่อยู่ในลำดับจะถึงอริยมรรคหรืออยู่ในหัวต่อที่จะข้ามพ้นภาวะปุถุชนขึ้นสู่ภาวะเป็นอริยะ ดู ญาณ
  4. จักร : ล้อ, ล้อรถ, ธรรมนำชีวิตไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ดุจล้อนำรถไปสู่ที่หมายมี ๔ อย่างคือ ๑.ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในถิ่นที่เหมาะ ๒.สัปปุริสูปัสสยะ สมาคมกับคนดี ๓.อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ๔.ปุพเพกตปุญญตา ได้ทำความดีไว้ก่อน
  5. จักรธรรม : ธรรมเปรียบด้วยล้อรถ ซึ่งจะนำไปสู่ความเจริญ หรือให้ถึงจุดมุ่งหมาย มี ๔ อย่าง ดู จักร
  6. Budhism Thai-Thai Dict : สู่, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : สู่, more than 5 found, display 1-5
  1. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  2. กายูปค : ค. อันเข้าไปสู่กาย, อันอาศัยกาย, ซึ่งติดอยู่กับกาย
  3. กูฏงฺคม : ค. (กลอนเรือน) ซึ่งไปสู่ยอด, ซึ่งไปรวมกันที่ยอด
  4. โกลโกล : (วิ.) จากสกุลสู่สกุล.
  5. โกลงฺโกล : ค. ผู้ไปจากตระกูลสู่ตระกูล (พระโสดาบัน) ผู้ยังต้องเกิดอยู่ในภพอีก ๒ ภพบ้าง ๓ภพบ้าง จึงจะได้บรรลุพระอรหันต์
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : สู่, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : สู่, 1 found, display 1-1
  1. เข้าสู่ครรภ์ : คพฺภุปาคมิ

(0.0567 sec)