Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ส่วนหลัง, หลัง, ส่วน , then สวน, ส่วน, สวนหลง, ส่วนหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

Eng-Thai Lexitron Dict : ส่วนหลัง, more than 7 found, display 1-7
  1. back 1 : (N) ; ส่วนหลัง ; Related:ด้านหลัง, ส่วนท้าย, ด้านท้าย ; Syn:rear ; Ant:front, fore
  2. latter : (N) ; ส่วนหลัง ; Syn:the second of the two
  3. back seat : (N) ; ที่นั่งด้านหลัง ; Related:ส่วนหลัง ; Syn:rear
  4. Eng-Thai Lexitron Dict : ส่วนหลัง, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ส่วนหลัง, more than 7 found, display 1-7
  1. ส่วนหลัง : (N) ; rear part ; Samp:การขายปลากระเบนตัวใหญ่ๆ คนขายจะคว่ำปลาเอาส่วนหลังขึ้นเสมอ
  2. ส่วนหลัง : (ADJ) ; rear ; Related:back, hind ; Samp:กะโหลกศีรษะมีส่วนที่เจริญเติบโตมากอยู่ 3 แห่ง ติดต่อซึ่งกันและกัน คือ สมองส่วนหลัง สมองส่วนกลาง และสมองส่วนหน้า
  3. ส่วน : (N) ; part ; Related:portion, component ; Syn:แผนก, ตอน, ท่อน ; Def:ส่วนที่แบ่งจากสิ่งรวม ; Samp:การคิดไตร่ตรองมนุษย์ประกอบด้วยสองส่วน คือ ส่วนที่มีเหตุผล (rational) และส่วนที่ไร้เหตุผล (irrational)
  4. ส่วน : (N) ; part ; Related:section, portion ; Syn:แผนก, ตอน, ท่อน ; Def:ส่วนที่แบ่งจากสิ่งรวม
  5. ส่วน : (CONJ) ; as for ; Related:for ; Syn:สำหรับ ; Samp:เพื่อนๆ ออกไปทานข้าวกันหมดแล้ว ส่วนผมยังต้องสะสางให้เสร็จ
  6. ส่วน : (N) ; equivalence ; Related:fit ; Syn:สัดส่วน ; Def:ขนาดที่พอเหมาะพอดี ; Samp:คราวนี้เธอคงผสมแป้งไม่ได้ส่วน ขนมเลยแข็งไปหน่อย
  7. ส่วน : (N) ; fraction ; Syn:เศษย่อย ; Samp:อาหารจานแค่นี้ ใส่น้ำตาลแค่เศษหนึ่งส่วนสี่ช้อนก็พอ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ส่วนหลัง, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ส่วนหลัง, more than 5 found, display 1-5
  1. ส่วน : น. สิ่งที่แบ่งจากสิ่งรวม เช่น เงินส่วนนี้จะเอาไว้ทําบุญ; การเข้าร่วม เช่น เรื่องนี้ขอมีส่วนด้วย; แผนกย่อย, ฝ่าย, เช่น งานกองนี้แบ่งออก เป็นหลายส่วน, ตอน, ท่อน, เช่น เรื่องนี้แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน; ขนาดที่ พอเหมาะพอดี เช่น ได้ส่วน สมส่วน ผิดส่วน; ด้าน เช่น ส่วนกว้าง ส่วนยาว ส่วนหนา; จำนวนที่อยู่ข้างล่างของเศษในเลขเศษส่วน. สัน. ฝ่าย, ข้าง, เช่น พอสอบเสร็จเพื่อน ๆ ก็ไปเที่ยวภูเก็ต ส่วนฉัน ไปเชียงใหม่.
  2. ปฤษฎางค์ : [ปฺริดสะดาง] น. อวัยวะเบื้องหลัง, ส่วนหลัง, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระปฤษฎางค์, พระขนอง ก็ว่า.
  3. ส่วนหน้า : น. เรียกเขตที่มีการรบว่า พื้นที่ส่วนหน้า, เรียกส่วนราชการ ที่แยกออกไปเพื่ออํานวยความสะดวกในการควบคุมบังคับบัญชาใน การปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติงานพิเศษ เช่น เรียกกองบัญชาการทหาร สูงสุดว่า กองบัญชาการทหารสูงสุดส่วนหน้า. ส่วนหลัง น. เรียกเขตของกองทหารที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการส่งกําลัง บํารุงว่า พื้นที่ส่วนหลัง.
  4. หลัง : น. ซีกของกายที่ตรงข้ามกับหน้าอก; ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับด้านหน้าของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง; ส่วนเบื้องบน เช่น หลังมือ หลังเท้า. ว. อยู่ตรงข้ามกับ ข้างหน้า, ตรงข้ามกับ ก่อน (ใช้แก่เวลาที่ผ่านพ้นไปแล้ว), ในลําดับถัดไป เช่น คนหลัง; ลักษณนามเรียกเรือนหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างเรือนว่า หลัง เช่น เรือนหลังหนึ่ง ศาลา ๒ หลัง.
  5. หน้า : น. ส่วนของศีรษะตั้งแต่หน้าผากลงมาจดคาง; ซีกของกายที่ตรงข้ามกับ หลัง, ด้านของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่อยู่ตรงข้ามกับสายตาของเราหรือด้านที่ เผชิญหน้ากับสายตาของเรา เช่น เขาวิ่งอยู่หน้าฉัน จึงเห็นแต่หลังเขา ไว ๆ; ส่วนบนของบางสิ่ง เช่น หน้าขนม ข้าวเหนียวหน้าสังขยา หน้าปกหนังสือ; เครื่องปรุงที่แต่งหรือโรยบนอาหารบางอย่าง เช่น กระเทียมเจียวโรยหน้าข้าวต้ม; ด้านหนึ่ง ๆ ของวัตถุแบน ๆ อย่าง กระดาษ เช่น หน้ากระดาษ หน้าซอง, ด้านของเครื่องตีที่ขึงด้วยหนัง เช่น หน้ากลอง, ด้านหนึ่ง ๆ ของลูกเต๋าและนํ้าเต้าซึ่งมี ๖ ด้าน; ส่วน กว้างของแผ่นกระดาน เสาเหลี่ยมหรือผืนผ้า เป็นต้น; ชายผ้าบางชนิด ที่มีลวดลาย, ด้านของผ้าที่มีลวดลายชัดกว่า; คราว เช่น เมื่อข้าวสุกแล้ว ก็ถึงหน้าเก็บเกี่ยว, ฤดู เช่น หน้าฝน หน้าทุเรียน, โดยปริยายหมายถึงคน เช่น เขาสู้ทุกคนไม่ว่าหน้าไหน, เกียรติและศักดิ์ศรี เช่น เห็นแก่หน้า ไม่ไว้หน้า, ลักษณนามบอกจํานวนด้านของแผ่นกระดาษ เช่น หนังสือ เล่มนี้มี๒๐๐ หน้า. ว. ถัดไป เช่น อาทิตย์หน้า ฉบับหน้า, ตรงข้ามกับ หลัง (ใช้แก่เวลาที่ยังมาไม่ถึง) เช่น วันหน้า เดือนหน้า ปีหน้า, อยู่ตรงข้าม กับข้างหลัง เรียกว่า ข้างหน้า.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ส่วนหลัง, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ส่วนหลัง, more than 5 found, display 1-5
  1. ปฤษฎางค์ : อวัยวะเบื้องหลัง, ส่วนหลัง, ข้างหลัง
  2. ส่วนท่ามกลาง : ในประโยคว่า “ไม่ติดอยู่ในส่วนท่ามกลาง” ปัจจุบัน
  3. ส่วนข้างปลายทั้งสอง : อดีต กับอนาคต
  4. จิตตสันดาน : การสืบต่อมาโดยไม่ขาดสายของจิต; ในภาษาไทยหมายถึง พื้นความรู้สึกนึกคิดหรืออุปนิสัยใจคอที่ฝังอยู่ในส่วนลึกของจิตใจมาแต่กำเนิด (ความหมายนัยหลังนี้ มิใช่มาในบาลี)
  5. ปัจฉิมกิจ : ธุระที่พึงทำภายหลัง, กิจที่พึงทำตอนท้าย เช่น ปัจฉิมกิจแห่งอุปสมบทมี ๖ ได้แก่ วัดเงาแดด, บอกประมาณแห่งฤดู, บอกส่วนแห่งวัน, บอกสังคีติ (บอกรวบหรือบอกประมวล เช่น วัดที่บวช อุปัชฌาย์ กรรมวาจาจารย์ และจำนวนสงฆ์ เป็นต้น) บอกนิสัย ๔ และบอกอกรณียกิจ ๔ (ที่รวมเรียกอนุศาสน์)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ส่วนหลัง, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่วนหลัง, more than 5 found, display 1-5
  1. ปจฺฉาภาค : ป. ส่วนหลัง
  2. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  3. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  4. อุปขนฺธ : ป. ส่วนบนของลำตัว, หลัง, ไหล่
  5. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่วนหลัง, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ส่วนหลัง, more than 5 found, display 1-5
  1. ส่วน : ปฏิวึโส, ภาโค, โกฏฺฐาโส
  2. หลัง : ปิฏฺฐิ, ปิฏฺฐํ, ปิฏิฐิ [อิ.]
  3. กล, ส่วน : กลา [อิ.]
  4. สุดท้าย, หลัง : จริม, ปจฺฉิม, ปริยนฺต, อนฺต, อนฺติม
  5. กระดูกสันหลัง : กฏิถาลกํ [นป.]
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ส่วนหลัง, more results...

(0.4499 sec)