Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ส่าย , then สาย, ส่าย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่าย, 148 found, display 1-50
  1. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  2. สาย : (ปุ.) เย็น (เวลาใกล้ค่ำ), เวลาเย็น. วิ. สายติ ทินํ อวสายตีติ สาโย. สา อวสาเน, โย. สายนฺโต วา ทินนฺตํ กโรนฺโต อยตีติ สาโย. ส. สาย.
  3. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  4. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  5. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  6. อมราวิกฺเขปิก : ค. ผู้พูดเหลาะแหละไม่ตายตัว, ผู้พูดซัดส่ายเหมือนปลาไหล
  7. อวิสาหฏมานสตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคลเป็นผู้มีจิตไม่ส่ายแล้ว, ความที่แห่งจิตเป็นจิตไม่ส่ายแล้ว, ความแน่วแน่.
  8. อวิสาหาร : (ปุ.) ความไม่ส่าย, ความแน่วแน่.
  9. อาตุร : (วิ.) เร่าร้อน, เดือดร้อน, ระส่าย, กระ-สับกระส่าย, เจ็บ, ทนทุกขเวทนา (ทั้งกายและใจ), มีโรค.ส.อาตุร.
  10. เอรกวตฺติก : นป. ริ้วส่าย, การลงโทษชนิดหนึ่ง คือเฉือนหนังตั้งแต่คอถึงเท้าเอาเชือกผูกคร่าไปให้วิ่งเหยียบหนังของตัว
  11. สายณฺห : (นปุ.) เวลาเย็นแห่งวัน, เวลาเย็น, สายัณห์, สนธยา. วิ. อหสฺส สายํ สายณฺหํ. แปลง อหฺ เป็น อณฺห.
  12. สาย : (อัพ. นิบาต) เย็น. สยตฺถนิปาต. ในเวลาเย็น, กาลสตฺตมิยตฺถนิปาต. ส. สายํ.
  13. สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
  14. สายติ : ก. ลิ้มรส
  15. สายน : (นปุ.) ความยินดี, ความเพลิน, การลิ้ม, การจิบ. สา อสฺสาทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ. แปลง ยุ เป็น อน.
  16. สายมาส : (นปุ.) โภชนะอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น, ภัตอันบุคคลพึงบริโภคในเวลาเย็น. สายํ+อส แปลง นิคคหิตเป็น ม อ+อ เป็น อา.
  17. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  18. มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
  19. รชฺชุ : (อิต.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  20. รชฺชุก : (ปุ.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  21. วฏฺฏิ, วฏฺฏิกา : อิต. ไส้เทียน, เกลียว, สาย
  22. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  23. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  24. อติสาย : ก. วิ. เวลาเย็นยิ่ง, สายมาก
  25. อนุกมอนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าวไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ.วิ.อนุรูโปกโมอนุกโมอนุกฺกโมวา.ส. อนุกรฺม
  26. อนุกม อนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าว ไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ. วิ. อนุรูโป กโม อนุกโม อนุกฺกโม วา. ส. อนุกรฺม
  27. กสาย : (วิ.) เป็น...เหลว, เป็นน้ำ.
  28. กสาย กสาว : (นปุ.) น้ำฝาด.
  29. กสายตฺต : นป. ความฝาด
  30. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  31. กาสาย, กาสาว : ๑. นป. ผ้าที่ย้อมน้ำฝาด; จีวร; ๒. ค. ซึ่งย้อมน้ำฝาด, ซึ่งย้อมสีเหลือง
  32. กาสายวตฺถนิวตฺถ : (วิ.) ผู้นุ่งแล้วซึ่งผ้าอัน บุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำฝาด, ผู้นุ่งห่มแล้วซึ่ง....
  33. นิสฺสาย : กิต. อาศัยแล้ว
  34. ปฏิสายติ : ก. ลิ้มรส, ชิม, กิน
  35. ผสฺสายตน : นป. ผัสสายตนะ, อายตนะ คือ ผัสสะ
  36. ผุสายติ : ก. โปรย, พรม
  37. มหสาย : (ปุ.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, อัธยาสัยใหญ่, คนใจกว้าง.
  38. เมสายน : (ปุ.) เดือนเมษายน, เมษายน.
  39. อชฺโฌสาย : ค. ซึ่งผูกติด, ซึ่งห้อย
  40. อติสาย : (ปุ.) เวลาย็นเกินไป, เวลาเย็นมาก, ค่ำนัก.
  41. อติสายณฺห : (ปุ.) เย็นนัก, ค่ำนัก, ดึกนัก, ดึกมาก.
  42. อิสฺสายนา : (อิต.) กิริยาที่ริษยา, ความริษยา, ความฤษยา.
  43. อุปนิสฺสาย : ก. วิ. เพราะอาศัย, เนื่องอยู่ด้วย
  44. กรุณาชล : นป. น้ำแห่งความกรุณา, สาย (ฝน) แห่งความเอ็นดู
  45. เกยูร : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไล, สร้อย, สาย สร้อย, อิทรธนู (อิน-ธะนู). เก สทฺเท, อูโร, ยฺ อาคโม. เป็นเกยุร ก็มี. ส. เกยูร
  46. ถนธาร : (ปุ.) สายน้ำอันเกิดแต่ถัน, สาย น้ำนม.
  47. คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
  48. นมมทา : (อิต.) นัมมทา ชื่อแม่น้ำสายที่ห้าใน สาย. วิ. นมมํ สุขํ ททาตีติ นมมทา (ให้ความสุข).
  49. นฺยาย : ๑. ป. ดู นย๒. ป. ระบบปรัชญาอินเดียสายหนึ่งใน ๖ สาย
  50. ยมุนา : (อิต.) ยุมนา ชื่อแม่น้ำใหญ่สาย ๑ ใน ๔ สาย ของอินเดียโบราณ, แม่น้ำ ยมุนา. วิ. ยเมติ มลนฺติ ยมุนา. ยมุ อุปรเม, อุโน, อิตฺถิยํ อา. ยมสฺส ภคินี วา ยมุนา. แม่น้ำยมนา ก็เรียก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-148

(0.0294 sec)