Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ส่าย , then สาย, ส่าย .

Eng-Thai Lexitron Dict : ส่าย, more than 7 found, display 1-7
  1. lash about : (PHRV) ; ส่ายไม่หยุด ; Related:ส่ายไปมา ; Syn:lash around
  2. lash around : (PHRV) ; ส่ายไม่หยุด ; Related:ส่ายไปมา ; Syn:lash about
  3. flap about : (PHRV) ; ส่ายไปมาอย่างไร้ทิศทาง ; Related:แกว่งไปมาอย่างไร้ทิศทาง ; Syn:flap around
  4. flap around : (PHRV) ; ส่ายไปมาอย่างไร้ทิศทาง ; Related:แกว่งไปมาอย่างไร้ทิศทาง ; Syn:flap about
  5. wobble about : (PHRV) ; ส่ายไปมา ; Related:โคลงเคลง, โอนเอน, โซเซ
  6. wobble around : (PHRV) ; ส่ายไปมา ; Related:โคลงเคลง, โอนเอน, โซเซ
  7. sway : (VI) ; แกว่งไปมา ; Related:โซเซ, ส่าย, แกว่งไกว, โคลงเคลง ; Syn:swing, wave, oscillate
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ส่าย, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ส่าย, more than 7 found, display 1-7
  1. ส่าย : (V) ; swing ; Related:swerve, sway, shake, rock, swish back and forth ; Syn:แกว่งไกว ; Def:แกว่งไปมา, ย้ายไปมา ; Samp:ว่าวส่ายเพราะลมแรง
  2. ส่ายตา : (V) ; roll one's eyes ; Related:goggle eyeballs ; Syn:กลอกลูกตา, กลอกตา ; Samp:ผมส่ายตาหาเจ้าของก่อนที่จะนั่งเก้าอี้ตัวนี้
  3. ส่ายตาดู : (V) ; sweep one's eyes over ; Related:look around, glance around ; Samp:ผมหัวเราะพลางส่ายตาดูเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
  4. ส่ายไปส่ายมา : (V) ; wobble ; Related:shake, rock, sway, totter, teeter, tremble ; Ant:อยู่กับที่ ; Samp:มันชูงวงแล้วส่ายไปส่ายมา คล้ายกับว่าจะดมกลิ่นฉัน
  5. ส่ายหน้า : (V) ; shake one's head ; Syn:สั่นหน้า ; Def:ย้ายหน้าไปมาเพื่อบอกปฎิเสธ ; Samp:ทุกคนส่ายหน้าแทนคำตอบ
  6. การส่าย : (N) ; sway ; Related:wobble, swing, shake ; Def:การแกว่งไปมา, การย้ายไปมา (อย่างว่าวส่าย)
  7. ไกว : (V) ; rock ; Related:swing, sway ; Syn:แกว่ง, โล้, ส่าย, แกว่งไกว ; Def:ทำสิ่งที่ห้อยอยู่ให้ไปข้างหน้าและกลับมาข้างหลัง ; Samp:ยายนั่งไกวเปลหลาน
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ส่าย, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ส่าย, more than 5 found, display 1-5
  1. สอดส่าย : ก. ส่ายตาค้นหา ในคำว่า สอดส่ายสายตา เช่น สอดส่ายสายตา หาเพื่อนที่นัดไว้ ตำรวจสอดส่ายสายตาหาคนร้าย, โดยปริยายหมายถึง ส่ายตามองหาช่องทางหรือโอกาสที่จะลักขโมยเป็นต้น.
  2. กระวาย : (กลอน) ว. ส่าย, ดิ้น, เช่น ทอดตนตีทรวงกระวาย. (อุเทน), และใช้เข้าคู่กับคํา กระเวย และ กระโวย เป็น กระเวยกระวาย และ กระโวยกระวาย.
  3. กะ- ๕ : พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคําซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อ สละสลวยหรือเน้นคําให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น โดยแยกเอาตัวสะกดในแม่กกแห่งคํา หน้ามานํา เช่น นกยาง เป็น นก-กะยาง, ผักโฉม เป็น ผัก-กะโฉม, ลูกดุม เป็น ลูก-กะดุม. ต่อไปนี้เป็นคําที่ขึ้นด้วยพยางค์ กะ- ซึ่งเคยใช้เป็นกระ- ได้, ให้ดูคําแปลที่ กระ- นั้น ๆ คือ :- กะเกริก, กะเกริ่น. กะง่อนกะแง่น, กะเง้ากะงอด. กะจก, กะจ้อน, กะจ้อยร่อย, กะจะ, กะจัง, กะจับ, กะจับปิ้ง, กะจับปี่, กะจ่า, กะจาด, กะจาบ, กะจิบ, กะจิริด, กะจี้, กะจุก, กะจุ๋งกะจิ๋ง, กะจุบ, กะจุ๋มกะจิ๋ม, กะจุย, กะจู้, กะจู๋กะจี๋, กะเจอะกะเจิง, กะเจา, กะเจ้า, กะเจาะ, กะเจิง, กะเจิดกะเจิง, กะเจี้ยง, กะเจี๊ยบ, กะเจียว, กะแจะ, กะโจน, กะโจม. กะฉอก, กะฉ่อน, กะฉับกะเฉง, กะฉีก, กะฉูด, กะเฉด, กะโฉม. กะชดกะช้อย, กะชอน, กะชั้น, กะชับ, กะชาก, กะชาย, กะชุ, กะชุ่มกะชวย, กะแชง. กะซิก, กะซิบ, กะซุง, กะซุบกะซิบ, กะเซ็น, กะเซอ, กะเซอะกะเซอ, กะเซอะกะเซิง, กะเซ้า, กะเซิง, กะแซะ. กะดก, กะด้ง, กะดวง, กะดวน, กะด้วมกะเดี้ยม, กะดอ, กะดอง, กะดอน, กะดอม, กะดักกะเดี้ย, กะดังงา, กะดาก, กะด้าง, กะดางลาง, กะดาน, กะดิก, กะดิ่ง, กะดิบ, กะดี่, กะดี้, กะดี้กะเดียม, กะดึง, กะดุกกะดิก, กะดุ้งกะดิ้ง, กะดุบกะดิบ, กะดุม, กะดูก, กะเด็น, กะเด้า, กะเดาะ, กะเดิด, กะเดียด, กะเดือก, กะเดื่อง, กะแด็ก ๆ, กะแด้แร่, กะแด่ว, กะแดะ, กะโดก, กะโดด, กะโดน, กะได. กะตรกกะตรํา, กะต้อ, กะตรับ, กะตรุม, กะต้วมกะเตี้ยม, กะต่องกะแต่ง, กะต๊อบ, กะต้อยตีวิด, กะตัก, กะตั้ว, กะต่าย, กะติก, กะตือรือร้น, กะตุก, กะตุกกะติก, กะตุ้งกะติ้ง, กะตุ้น, กะเตง, กะเต็น, กะเตอะ, กะเตาะ, กะเตาะกะแตะ, กะเตื้อง, กะแต, กะโตกกะตาก. กะถด, กะถั่ว, กะถาง, กะถิก, กะถิน, กะเถิบ, กะโถน. กะทง, กะทบ, กะทอก, กะท่อนกะแท่น, กะท่อม, กะท้อมกะแท้ม, กะทะ, กะทั่ง, กะทั่งติด, กะทา, กะทาย, กะทาหอง, กะทํา, กะทิง, กะทึง, กะทืบ, กะทุง, กะทุ้ง, กะทุ่ม, กะทุ่มหมู, กะทู้, กะเท่, กะเทียม, กะแทก. กะนั้น, กะนี้, กะโน้น, กะไน. กะบก, กะบวย, กะบะ, กะบั้วกะเบี้ย, กะบาก, กะบาย, กะบิ, กะบิด, กะบี่, กะบุง, กะบุ่มกะบ่าม, กะบู้กะบี้, กะบูน, กะเบน, กะเบา, กะเบียด, กะเบียน, กะเบื้อง, กะแบกงา, กะแบะ. กะปรี้กะเปร่า, กะป้อกะแป้, กะป๋อง, กะปอดกะแปด, กะปั้วกะเปี้ย, กะป่ำ, กะปุก, กะปุ่มกะป่ำ, กะเป๋า, กะเปาะ, กะโปก. กะผลีกะผลาม, กะผีก. กะพอก, กะพอง, กะพัก, กะพัง, กะพังเหิร, กะพังโหม, กะพัน, กะพี้, กะพือ, กะพุ้ง, กะเพาะ, กะเพิง, กะเพื่อม. กะฟัดกะเฟียด, กะฟูมกะฟาย. กะมัง, กะมิดกะเมี้ยน, กะเมาะ. กะย่องกะแย่ง, กะย่อม, กะยาง, กะยาหงัน, กะยิ้มกะย่อง, กะยืดกะยาด. กะรอก, กะเรียน, กะไร. กะลําพัก, กะลําพุก, กะลุมพุก, กะลุมพู. กะวาน, กะวิน, กะวีกะวาด, กะวูดกะวาด, กะเวยกะวาย, กะแวน. กะสง, กะสม, กะสร้อย, กะสวน, กะสวย, กะสอบ, กะสัง, กะสัน, กะสับกะส่าย, กะสา, กะสาบ, กะสาย, กะสือ, กะสุน, กะสูบ, กะเสด, กะเส็นกะสาย, กะเส่า, กะเสาะกะแสะ, กะเสือกกะสน, กะแสง, กะแสะ. กะหนก, กะหนาบ, กะหมั่ง, กะหัง, กะหึม, กะหืดกะหอบ, กะแห, กะแหน่, กะแหนะ, กะโห้. กะอ้อกะแอ้, กะออดกะแอด, กะออม, กะอ้อมกะแอ้ม, กะแอก, กะแอม, กะไอ.
  4. กราด ๕ : [กฺราด] ก. กวดให้แน่น เช่น กราดลิ่ม, กวดให้อยู่ในบังคับ เช่น กราดควาย กราดเด็ก; พ่นน้ำนกและไก่แล้วเอาออกผึ่งแดด; ตากอยู่กลางแดดกลางลม. ว. ซัดส่ายไปโดยไม่เจาะจง เช่น ยิงกราด, สาดไป เช่น ด่ากราด.
  5. กวาดตา : ก. ส่ายตาดูทั่วไป.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ส่าย, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ส่าย, more than 5 found, display 1-5
  1. อุทธัจจะ : ความฟุ้งซ่าน, จิตส่าย, ใจวอกแวก (พจนานุกรมเขียน อุทธัจ)
  2. สายโยค : สายโยก, สายรัด ใช้กับถุงต่าง ๆ เช่น ที่ประกอบกับถุงบาตร แปลกันว่า สายโยกบาตร (บาลีว่า อํสวทฺธก); บางแห่งแปล อาโยค คือผ้ารัดเข่า หรือ สายรัดเข่า ว่า สายโยคก็มี แต่ในพระวินัยปิฏก ไม่แปลเช่นนั้น
  3. มหี : ชื่อแม่น้ำสายหนึ่งในแม่น้ำใหญ่ ๕ สาย ที่เรียกว่าปัญจมหานทีของอินเดีย (คงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี)
  4. สุวรรณภูมิ : “แผ่นดินทอง”, “แหลมทอง”, ดินแดนที่พระเจ้าอโศกมหาราชส่งพระโสณะและพระอุตตระ หัวหน้าพระศาสนทูตสายที่ ๘ (ใน ๙ สาย) ไปประกาศพระศาสนา ปราชญ์หลายท่านสันนิษฐานว่าได้แก่ดินแดนบริเวณจังหวัดนครปฐม (พม่าว่าได้แก่เมืองสะเทิมในประเทศพม่า)
  5. โสณกะ : พระเถระรูปหนึ่งในจำนวน ๒ รูป (อีกรูปหนึ่งคือ พระอุตตรเถระ) ที่พระโมคัลลีบุตรติสสเถระ ส่งเป็นพระศาสนทูตมาประกาศพระศาสนา ในดินแดนสุวรรณภูมิ เมื่อเสร็จสิ้นการสังคายนาครั้งที่ ๓ (ประมาณ พ.ศ.๒๓๔) นับเป็นสายหนึ่งในพระศาสนทูต ๙ สาย
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ส่าย, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่าย, more than 5 found, display 1-5
  1. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  2. สาย : (ปุ.) เย็น (เวลาใกล้ค่ำ), เวลาเย็น. วิ. สายติ ทินํ อวสายตีติ สาโย. สา อวสาเน, โย. สายนฺโต วา ทินนฺตํ กโรนฺโต อยตีติ สาโย. ส. สาย.
  3. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  4. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  5. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ส่าย, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ส่าย, 7 found, display 1-7
  1. ป้องหน้า, ส่ายหน้า : นลาเฏ หตฺถํ ฐเปสิ, คีวํ จาเลสิ, สีสํ จาเลสิ
  2. สายสร้อย : คีวาภรณํ, หาโร
  3. สร้อยคอ, สายสร้อย : คีวาภรณํ, หาโร
  4. กระบี่ : มณธฑลคฺคํ, อสิ, เนตฺตึโส, ขคฺโค, สายโก
  5. ประเทศยุโรป : ทยฺยภาสาย ยุโรป อิติ เอวํนาโม
  6. เวลาเย็น : สายํ, สายณฺหสมเย, สายณฺหกาเล
  7. อาศัยรูปธรรม : นิสฺสาย

(0.1542 sec)